การบ้านข้อที่ 1.1
1.1 สรุปสภาวะธรรมที่ได้จากการฟังธรรม
ค้นหารายชื่อท่านได้จากกล่องค้นหา
คำนำหน้าชื่อ | ชื่อ นามสกุล (ชื่อกับนามสกุล เว้น 1 วรรค) | สรุปสภาวะธรรมที่ได้จากการฟังธรรม และประโยชน์ที่ได้รับ |
---|---|---|
นาง | เรือนแก้ว สว่างวงษ์ | อาจารย์เน้นในเรื่องหมดอยาก หมดทุกข์ ความอยากเป็นกิเลส เป็นสุขลวง ก็มาพิจารณาตนเองว่ายังหลงเหลือความอยากอะไรบ้าง พบว่าตนเองมีความอยากให้เกิดสิ่งดี ๆ อยากให้งานสมบูรณ์ อยากให้งานเสร็จเร็ว ยังติดดี ประโยชน์ที่ได้รับคือ ทำให้ได้ทบทวนตนเองแล้วตั้งศีลเพื่อลดละในสิ่งที่ตัวเองยังติดอยู่ ลดกิเลสความอยากที่ยังหลงเหลือ |
นางสาว | ผุสดี เจริญไวยเจตน์ | ลดความอยากในการอยากพูดให้ดี ให้กระชับ ครบจบประเด็น ก๋เห็นความพร่องความพลาดของตนตลอดเวลา ก็หยุดความคิดอยู่แค่นั้นแล้วพากเพียรต่อ |
นาง | นาฏยา ทองก้อน | ไม่ได้ร่วมรายการ |
นาย | พลศักดิ์ สุขยิ่ง | ได้เรียนรู้เข้าใจในอริยสัจสี่เพิ่มขึ้น ทำสมดุลร้อนเย็น ทำให้เกรงกลัวในการผิดศีล และตั้งใจที่จะยึดมั่นในคำสอนของพระพุทธเจ้าของอาจารย์ พ่อครู |
นางสาว | ปภาพิศา มงคลธนาวุฒิ | สุขภาพร่างกายและสุขจิตดีขึ้น |
นาย | ยศวีร์ ปิณฑะศรีวัฒน์ | ขจัดความกลัวในใจและได้รับกระแสธรรมทำให้อยากลดละเลิกทานเนื้อสัตว์ |
นางสาว | ประทุมทิพย์ ไชยชิตร | การวางใจ เกิดขึ้นเมื่อวาน วันที่29 กย 64 เรื่องของหาย ยางผูกผมหาย มีความทุกข์มากเพราะก่อนหน้านั้นหายไปแล้วหนึ่งอันเพิ่งจะซื้อมาสามอันยังไม่ทันได้ใช้ รื้อหมอน ที่นอน ผ้าห่มรื้อหมด หาไปเครียดไป ไม่อยากเอาอันใหม่มาใช้อีก หาเท่าไหร่หาไม่เจอ สุดท้าย วางใจ หายก็หายไม่หาละ ไม่เจอไม่รับ เอาอันใหม่มาใช้แล้วกัน วางใจไม่เป็นรัย เอาอันใหม่มาใช้ เข้าห้องน้ำไปอาบน้ำ พอล้างมือ อ้าวอยู่ในข้อมือเรานี่เอง 5555 เมื่อเราวางใจ เจอก็ได้ ไม่เจอก็ได้ ดันเจอขึ้นมาโดยที่ไม่ต้องหา ความไม่มีสติ ความไม่วางใจ ส่งผลให้เราเครียดขึ้นมา หงุดหงิด เลือดสูบฉีดแรง พอเราวางใจโปร่งโล่งสบาย |
นางสาว | วิญญา จันทะพล | ได้ความรู้มาใช้ดับทุกข์และแก้ปัญหาในชีวิตเป็นลำดับ |
นางสาว | ปภาดา จีนมะเริง | ได้ประโยชน์มากได้ปัญญาได้รู้จักการดับทุกข์ได้ฟังธรรมะทำให้มีความสุกเบิกบาน |
นางสาว | ผุสดี เจริญไวยเจตน์ | |
นาง | จารุวรรณ โกมลกุญชร | |
นาง | เรือนแก้ว สว่างวงษ์ | |
นางสาว | ผาสุข ตันชวลิต | ยินดีในธรรม |
นางสาว | อังคณา ทิพย์ผลาผล | |
นางสาว | ดวงพร ฤทธิ์ถาวร | ไม่เร่งผล หายเร็วก็ได้ หายช้าก็ได้ หายตอนเป็นก็ได้ หายตอนตายก็ได้ หายตอนไกน ช่างหัวมัน ฟังจากที่อาจารย์สอน แล้ววาง ปรากฎโรคหายตอนไหน ไม่รู้เลยคะ |
นางสาว | คูณทิพย์ วงษ์สุวรรณ | |
นางสาว | นาลี วิไลสัก | |
นางสาว | ภาวินี โสดายงค์ | ปิติยินดี อยากพัฒนาตนค่ะ |
นางสาว | พรรณทิพย์ เทศน์สาลี | |
นาย | วีรวัฒน์ รงค์ภักดี | การช่วยเพืเหลือมนุษย์ |
นางสาว | สุภัคษา เต่าถมตา | ใบประกาศใด้ก็ใด้ไม่ใด้ก็ใด้ |
นางสาว | วิญญา จันทะพล | รู้สึกยินดีที่ได้ความกระจ่างชัดเกี่ยวกับเรื่องการเข้าศึกษา ระเอียดขึ้นค่ะ |
นางสาว | กัญญารัตณ์ สมพุทธวงค์ | |
นาง | พูนสุข พูลเพิ่ม | เบาใจขึ้น |
นาง | ทัศนีย์ จันทา | ได้คามรู้ในการดูแลตนเอง และแบ่งปันด้วยใจไร้ทุกข์ |
นาง | อรวิภา กริฟฟิธส์ | กล้าที่จะไม่อยากได้ตามที่อยาก ตัณหาดับ ปัญหาดับ |
นางสาว | ตรีทิพย์นิภา ไทยรักษา | ทำใจปล่อยวางใจไร้ทุกข์กังวลได้ |
นาง | ณัฐชานันท์ รัตนะดำรงค์ชัย | ตอกย้ำความเข้าใจในเรื่องพาพ้นทุกข์ |
นาง | ภัคเปมิกา อินหว่าง | |
นางสาว | สุภารัตน์ จันโดน | สิ่งที่เราได้รับคือสิ่งที่เราทำมา ยินดีรับยินดีให้หมดไป |
นางสาว | ปภาพิศา มงคลธนาวุฒิ (ณิ) | มีความลดกิเลสจากอาหารที่เป็นของว่างค่ะ ปกติต้องมีขนมหวาน ของขบเคี้ยว หลังจากนี้งดเลยค่ะ |
นางสาว | ฟ้าปลื้ม ศรีจันทร์ | ฟ้าปลื้ม ศรีจันทร์ กับสภาวะธรรม ที่เกิดขึ้น ระหว่างอยู่ในห้องแชท 30กย.64 รู้สึกอุ่นใจ ได้อยู่ใกล้อาจารย์ และจิตอาสา ไม่ได้ห่างหายจากหมู่กลุ่ม แม้จะไม่ได้ฟังครบชั่วโมง แต่ ได้ฟังตามที่เสียงตามสายตามโควต้าที่สมณะส่งเสียงตามสายมา ตั้งแต่ เช้ามือทำวัตรเช้า 06.00น. ฟังอาจารย์หมอเขียว ภาษาอังกฤษแบบอโศก อาหารมังสวิรัติจาก ชมร.สันติอโศก รายการวิปัสนาข่าว ฟังธรรมก่อนฉันของบวรสีมาอโศก รายการภาคค้ำ ของบุญนิยมทีวี ทุกๆ วัน ทำให้ เราอิ่มเต็ม กับ อาหารทาง โลก ทางธรรม แบบไม่ต้องสืบค้น ดุไม่ต้องดุจงมเข็มในมหาสมุทร การใช้ชีวิตในหมู่มิตรดี เพียงแค่เรา ถือศีล 5 ละอบายมุข กินมังสวิรัติ ทำงานฟรี ก็ สบายใจ ฟ้าปลื้ม ศรีจันทร์ 30 กันยายน 2564 15.18 น. |
นางสาว | ปุณยนุช ภูมิอมร | รู้สึกว่า มีชีวิตดี มีสาระ ได้คบสัตบุรุษที่พาพ้นทุกข์ กาย ใจ มีที่พักพิงใจให้อยู่เหนือกิเลส |
นาง | กานดา ศักดิ์ศรชัย | เมื่อพบกับสิ่งที่ได้ยินแล้วไม่ชอบใจ ก็จะรู้ว่ากิเลสออกจากที่หลบเร้นแสดงตัวให้เห็น เป็นโอกาสให้นำมาพิจารณาหาเหตุจากคิดผิดจากความยึดในชอบชัง ได้ฝึกวางความยึดมั่นและคลายความไม่ชอบใจลงได้ |
นาย | สุมิตชัย ศรีจีนดี | |
นาง | กาญจนา คงภูชงค์ | ได้เข้าใจเพิ่มขึ้นในเรื่องการลดทุกข์ ลดกิเกสที่ทำให้ใจเราฟุ้งซ่านในเรื่องต่างๆได้ ลดอยากได้หลายอย่างขึ้น เวลาเจอปัญหาก็คิดได้ว่าเราทำมารับแล้วก็หมดไป อยู่ในความลำบากกุศลธรรมเจริญยิ่งได้อปริหานิยธรรมกับหมู่กลุ่มก็ทำให้เราลดละได้เพิ่มขี้นอีกคะ ฟังธรรมะที่อาจารย์สอนได้เข้าใจในพระไตรปิฎกได้ละเอียดขึ้นเข้าใจวิบากที่เราทำมาไม่โทษใครเพราะเราทำมาใจไร้ทุกข์ใจดีงาม เลิกเนื้อสัตว์ได้มาเกือบ2ปีแล้วคะสาธุ |
นางสาว | รัตนา ศรีธนะ | กลัว ชั่ว ทุกข์ อยาก วิบาก 11 ประการ |
นาง | บุษกร วรรธนะภูติ | กล้าที่จะไม่ได้ตามที่อยาก |
นางสาว | จรัสพักตร์ จังหวะเพลง | หลักสูตรการเรียนวิชชาราม เพื่อพึ่งตนพาพ้นทุกข์ จิตเบิกบาน |
นางสาว | สุวภัทร ชุ่มชัยยา | การฟังธรรมทำให้ยกจิต สูงขึ้น มีสาระที่สุดในชีวิต |
นางสาว | สุคนธ์ ศิลปบวรเลิศ | ให้ฝึกฝนและปฏิบัติ ตน ไปตาม แนวทางพุทธะ อย่าให้ความท้อใจ มาเป็นกิเลส ให้เราขาดความศรัทธาและจุดหมายของชีวิต |
นางสาว | วันเพ็ญ ตั้งสกุลวงศ์ | ชอบฟังอาจารย์พูด เพราะท่านอาจารย์จะเน้นตลอด ให้ทำทุกอย่างอย่างใจไร้ทุกข์ อย่ายึดมั่นถือมั่น ทำได้ก็ทำ ทำไม่ได้ก็ไม่ต้องทำ |
นาย | ดร.ณัฐกฤช อยู่มั่นธรรมา | การไม่ยึดติดในสิ่งใดๆปลอ่ยวาง การไม่ยึดติดในทุกสิ่ง |
นาง | เรณู ไชยศรี | อยากพ้นทุกข์ และวิธีดับทุกข์ เพราะทุกข์มาทั้งชีวิตอยากบ่อยมันไปแต่มันยากมากๆๆๆ |
นางสาว | ณฐิตา อินชัยยงค์ | ลงเรียน 7 ปีแล้ว ฟังอาจารย์พูดถึงเรื่องเรียนหลักสูตร 6 เดือน คิดว่าอยากเรียน พอคิดเห็นความกลัวเกิดขึ้นว่า เราจะเรียนไหวหรอ |
นาง | เพ็ญศรี มงคลชาติไทย | ได้ความรู้มากขึ้น และเรียนรู้วิธีดับทุกข์คือความอยาก ถ้าไม่อยาก ก็ไม่ทุกข์ |
นาง | เอื้อมพร สุทธิอาภาพงศ์ | |
นาง | วสา ราญคำรัตน์ | หมดความทุกข์เมื่อเราหมดความอยาก |
นาย | สุนทร คำเหลือง | ได้ความรู้สึกดีขึ้น |
นางสาว | กรวรรณ จันดาผล | ปล่อยได้วางได้บ้าง |
นาง | สมใจ สิทสิทธิพงษ์ | คลายทุกคลายทุกเรื่องวิตกกังวลเรื่องการเบียดเบียนสัตว์แมลงที่มารบกวนพืชผักไร้สารพิษที่ทำอยู่ค่ะ |
นางสาว | จงจิตต์ อินทรีย์ | |
นาง | เกษร อินต๊ะปัญญา | วางใจ ยอมรับ ปัญหาเรื่องร้ายที่เกิดขึ้น เพราะ เราทำมา ไม่มีอะไรต้องทุกข์ ทำมาเท่าไหร่ ก้อรับให้มันสุดสุด |
นาง | อรวรรณ กิจเชวงกุล | ดีค่ะ สงบและเห็นสัจธรรมตามนั้น |
นาง | ณัชวรรณ ศรีเพชรส่องแสง | เชื่อขัดในผลของกรรมวิบากกรรม |
นางสาว | สัสยา วาทยานนท์ | ถูกใจก็ดี ไม่ถูกใจก็ดี รับ เต็มๆ หมดไปเต็มๆ |
นางสาว | พรรณทิพย์ เทศน์สาลี | สภาวะธรรมที่ได้ คือ เข้าใจ และกล้าที่จะไม่ได้ดังใจ ก็คือการปล่อยวางปล่อยวางในเรื่องที่ |
นางสาว | เพชรี พรหมช่วย | ฟังแล้วเบิกบาน มีความสุข เย็นใจ เข้าใจอะไรก็ไม่เที่ยง เปลี่ยนแปลงตลอด |
นางสาว | ภนิดา ปิ่นมณี | สุขกายสบายใจ |
นางสาว | วิลาวัลย์ โพธิปัญญาธนา | สิ่งที่มีจริง สัมผัสได้จาก รูป รส กลิ่น เสียง รับรู้ทางใจได้ |
นางสาว | อุไร คงแก้ว | เริ่มไม่หวั่นไหว..ยินดีรับ ยินดีให้หมด |
นาง | สุมา ไชยช่วย | ใจค่อยๆคลายจากความยึดมั่นถือมั่นว่าต้องเกิดสิ่งดีๆกับเรา แต่จริงๆเราทำความชั่วหาที่ต้นที่สุดไม่ได้ จะได้แต่สิ่งดีอย่างเดียวเป็นไปไม่ได้ ต้องรับทั้งสองสิ่ง และเกิดอะไรที่ทำให้ใจเราทุกข์ เราต้องยินดีรับ รับแล้วก็หมดไป |
นาง | ณัชญ์ชาพัฒ วงศ์วิวิทย์ | เห็นกิเลสและเห็นอกเห็นใจสัตว์ จนสามารถตัดสินใจลดละเลิกเนื้อเลย |
นางสาว | วิมลวรรณ สินธุจริวัตร | ทำดีเรื้อยไปใจเย็นข้ามชาติ |
นางสาว | กมลชนก. เช้าเที่ยง | นำมาใช้ในชีวิตประจำวัน |
นางสาว | ลดาวรรณ เสรีเสถียร(หุย) | เห็นปัญหาที่เกิดกับคนรอบข้างโดยเรา |
นางสาว | นฤมล วงศา | มีความสงบ มีกำลังใจในการพิจารณากิเลสที่เกิดขึ้น และเริ่มอยากหาทางลดหรือกำจัด |
นางสาว | ผาสุข ตันชวลิต | ความยินดีในทุกเรื่องให้ได้ |
นาย | สุนทร คำเหลือง | ความรู้สึกดีขึ้นเป็นบางส่วน |
นาง | อรษา ชูเรืองสุข | ทำให้เห็นให้รู้จักที่จะเข้าใจตนเองและผู้อื่นขึ้นเยอะมากมาย ทำให้รู้จักยอม ที่จะไม่ได้ดั่งใจตนเองต้องการ |
นางสาว | สุนทรี อินทรีย์ | งดทานเนื้อสัตว์ใหญ่ |
นาง | ดรุณี อินทนิล | ไม่อยากก็ไม่ทุกข์ ลดอยาก ลดทุกข์ บกพร่องอะไรแก้ไที่ตนก่อน |
นาย | เหรียงไกร เฮงประเสริฐ | มีสติปัญญา รู้เพียร รู้พัก |
นาง | พรนภา บุรณศิริ | ได้ใช้การดำเนินชีวิตด้วยหลักอริยสัจ4คือสามารถรับได้ทั้งสุขและทุกข์และสามารถรู้ว่าทุกข์ต่างๆเกิดขึ้นได้อย่างไร รับรู้และหาทางแก้ไขรได้และไม่ทำิ่งที่ผิดอีกต่อไป |
นาง | อัญชลี โสภา | ใจเย็นขึ้น ไม่เร่งผลทำที่เราทำได้ สำเร็จก็ได้ ไม่สำเร็จก็ได้ ยินดีรับ รับแล้วหมดไป สุขใจไร้กังวน ใจเย็นข้ามชาติ |
นาง | นปภา รัตนวงศา | ทุกข์เท่าไหร่หมดไปเท่านั้น กล้าโง่ก็ฉลาดแล้วโง่เท่าไหร่หมดเท่านั้น หายทุกข์หายโง่ |
นางสาว | นภัสส์นัญท์ มาตย์คำมี | สบายใจ มากๆๆยิ่งฟังยิ่ง ทำให้ปฎิบัต ตนให้มากขึ้น เพื่อตนพ้นทุกข์และช่วยเหลือผู้อื่นด้วย |
นาง | สุรางค์ โยโกยามา( บุญเผื่อน) | ใจสงบ เย็นเบาสบายขึ้น |
นางสาว | ธัญญ์นิธิ ภักดีชน | การยอมรับความผิดพลาดในสิ่งที่ทำ และเกิดขึ้น กล้าที่จะทำ กล้าที่จะยอมรับ เพื่อให้หมดไป ทุกข์หมดไป ใจก็เป็นสุข รู้ให้เท่าทันตัวเองเพื่อให้ตัวเองมีความพร้อมในการฝึกลดกิเลศให้มากยิ่งขึ้น |
นาง | สุทัศณีย์ วงษ์กิ่ง | เห็นหลานใส่ชุดทึ่ออกนอนบ้านไม่สุภาพ(โป้สั้นเปิดโชว์)เค้าเป็นคนอ้วนเลยคิดว่าเค้าควรดตัวเองหน่อยมันดูไม่ดีเลยแล้วพิจารณาว่าเค้าอายุเท่านี้มันเป็นแฟชั่นตามยุคเค้าแต่ให้ลึกลงไปอีกเราเคยทำมาไปทำเสื้อผ้าชุดแฟชั่นมาส่งเสริมให้คนอื่นใส่มาและเคยทำมาบ้างจะไปเอาดีอะไรยอมรับวิบากกรรมได้ใช้วิบากกรรมอีกแล้วครับเท่าที่ทำมาใจก็เลยวางได้ไร้ทุกข์ได้เพราะเราทำมารับเท่าไหร่หมดเท่านั้น |
นางสาว | คูณทิพย์ วงษ์สุวรรณ | จิตนิ่งขึ้น เข้าใจตนเอง เข้าใจผู้อื่น มากขึ้นในบางเหลี่ยมมุมที่ไม่เคยเห็น |
นางสาว | ณฐิตา อินชัยยงค์ | |
นาย | เจษฎาพงษ์ ชำรัมย์ | |
นางสาว | พวงเพ็ญ ทองเย็น | ให้คบและเคารพหมู่มิตรดี เป็นปกติที่ชีวิตเราจะมีวิบากร้ายมากั้นเป็นระยะๆ ต้องอยู่ท่ามกลางหมู่มิตรดีจึงจะฝ่าไปได้ |
นาย | มานิตย์ แสนเกษม | กายเย็นใจเย็น |
นาง | เฟื่องฟ้า นภาคะเวช | ลดกิเลส ใจสบาย |
นาง | เรือนแก้ว สว่างวงษ์ | อย่าเชื่อผลแลป หรืออย่าเชื่อด้านรูปธรรม ค่าตรวจแต่ละแผนเชื่อไม่ได้ ให้เชื่อความรู้ของเรา |
นางสาว | สุคนธ์ ศิลปบวรเลิศ | คนทางโลก ที่ไม่ได้เข้าใจสัจธรรม จากพระสัมมาสัมพุทธเจ้า หรือจากผู้รู้แล้ว จะใช้เกณฑ์ในการสนองความสุขจากpaper แค่นั้น จากผัสสะทางตา อย่างแคบแคบ ที่เป็นรูปธรรมทางกาย โดยมิได้เข้าใจในความจริงแท้ที่พระองค์ได้ตรัสรู้อย่างแจ่มแจ้งแล้วี่พระองค์ได้พิสูจน์ด้วยพระองค์เอง ว่ามโนบุปพังคมาธรรมา ใจเป็นนาย กายเป็นบ่าว ในนามธรรม ที่เราสามารถพิจารณาจากสภาวะทางใจจาก เวทนาสุข ทุกข์ทางใจ ดูจากสภาวะที่รู้สึก ณ.ขณะปัจจุบันที่เกิด โดยดูที่ใจเราเป็นหลัก ส่วนกายนั้น ก็รักษาไปตามอาการ ตามหลักแพทย์วิถีธรรม ให้ยา9เม็ด โดยหยิบเม็ดไหนมาใช้ ก็ดูตามสภาวะอาการที่เป็น สาธุค่ะ |
นางสาว | ปภาดา จีนมะเริง(ซินดี้) | ได้ประโยชน์จากการฟังธรรมเพราะทำให้รู้จักวิถีดับทุกข์ |
นาง | เพ็ญศรี อิทธิมา | ธรรมะพาพ้นทุกข์ ดับเหตุทุกข์ทุกข์ดับ |
นางสาว | ผาสุข ตันชวลิต | รู้จักเลือกที่จะรับสถานการณ์ที่ทุกข์ ด้วยใจที่เป็นสุข |
นางสาว | อังคณา ทิพย์ผลาผล | สิ่งที่เราทุกข์มาก ทำให้เราพ้นทุกข์ จิตรใจเบิกบาน |
นางสาว | ประทุมทิพย์ ไชยชิตร | จากการฟังธรรม ธรรมะพาพ้นทุกข์ ตอนที่เดินออกกำลังกายไปด้วย ในเรื่องดีขึ้นแบบเท่าเดิม จากอาการป่วยที่ดีขึ้น แต่มีภาวะที่เท่าเดิมไม่มีอาการป่่วยที่ทนไม่ได้ อาการป่วยยังมีอยู่เหมือนเดิม แต่เรารู้สึกว่าใจเราดีขึ้น |
นางสาว | ณฐมน วงค์ภักดี | |
นาย | สุมิตชัย ศรีจันดี | กล้าที่จะไม่ได้ตามสิ่งที่อยากได้ กิเลสมันอยากกินขนมเลยกล้าที่จะไม่กินขนมสำเร็จ |
นาง | ภัคเปมิกา อินหว่าง | |
นาง | วสา ราญคำรัตน์ | สิ่งที่เกิดขึ้นทุกอย่างคือสิ่งเราทำมา รับแล้วก็หมดไป |
นางสาว | ณฐมน วงค์ภักดี | |
นางสาว | ดวงพร ฤทธิ์ถาวร | |
นาง | กานดา ศักดิ์ศรชัย | |
นาง | เพ็ญศรี มงคลชาติไทย | ได้เห็นกิเลส และลดละกิเลสได้บ้าง เมื่อมาได้ฟังธรรมะของาจารย์บ่อยๆ |
นางสาว | ผุสดี เจริญไวยเจตน์ | หมดอยาก จะหมดทุกข์ เราพิจารณาตัวเองว่าเรายังอยากอะไรหลงเหลือ เรายังอยากได้งานที่ออกมาดี ไม่มีข้อผิดพลาด ทำให้เราทุกข์ เครียด เราจึงควรล้างเรื่องนี้ โดยวางใจว่า งานออกมาพลาดก็ได้ พร่องก็ได้ สบายใจดี |
นางสาว | ปภาพิศา มงคลธนาวุฒิ(ณิ) | ต้องฟังให้บ่อยเพราะสมองชอบลืมและไม่ให้กิเลสเข้าจิต ซึ่งเป็นอาวุธเกราะป้องกันตัวเอง |
นางสาว | เพลินพิศ สังข์บุญลือ | |
นางสาว | เพลินพิศ สังข์บุญลือ | |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | มีสติมากขึ้น สบายใจที่ได้อยู่ศูญเพื่อบำเพ็ญกับหมู่มิตรดีสหายดีปฏิบัติธรรม้วยการคิดดี พูดดี ทำดีเป็นที่ตั้งและฟังและปฏิบัติตามคำสอนของอาจารยหมอเขียวผู้ให้ป๊ญญาตลอดมาค่ะ |
นาย | อัฑฒ์ฐากร ประทีปฐานิศร์ | |
นางสาว | อุไร คงแก้ว | ใจเบาสบาย..ใจเย็นข้ามชาติ |
นาง | นปภา รัตนวงศา | ให้ตั้งศีลกล้าในสิ่งที่อยาก ด้วยปัญญาอันยิ่งจะหายทุกข์ จะอยากได้ทำไมสุขที่ไม่มี มีแต่ทุกข์ เราต้องไม่สุขไม่ทุกข์ สุขสบายไร้กังวล ถ้ายังไม่ตายอันไหนทำดีได้ก็ทำ ในแต่ละวันตรวจความอยากกับไม่อยากให้ออก ความไม่อยากแบบชังแบบกลัวกำจัดให้ได้ มารคือความกลัว กังวล หวั่นไหวกล้าตลอดกาลก็จะสุขที่สุดในโลกเป็นยารักษาโรคมี่ดีที่สุดในโลก กล้ามเนื้อจะคลายตัว ดูดพลังดีเข้ามา ดันสิ่งร้ายออกไป แต่ละวัน" ตรวจมาร" ตอนมีเรื่องร้าย มีเหตุการณ์นี้แหละ ว่าหลัง กังวล หวั่นไหวเรื่องอะไรอยู่ก็กำจัดมันเสีย จะเก็บไว้ทำไม แต่จะงงๆถ้าวิบากร้ายเข้ามา เพราะวิบาก11ประการ บวกกับกิเลสที่เหลืออยู่ ถ้ากิเลสหมดจะรู้ตัวเร็ว แต่เมื่อเจอสัตบุรุษหมู่มิตรดี มาชื่นชมพุทธะ เป็นความดี พลังความดีจะดันวิบากร้ายออกไป จะมีปัญญาหักลำกิเลสได้ กำจัดทุกข์ได้ ทำเป็นรอบๆเป็นคราวๆ วิบากมาทีไรก็จะ งงทุกที ก็จะค่อยฉลาดขึ้น ยิ่งศึกษาบ่อยก็จะรู้ทางพ้นทุกข์ได้เร็ว ให้พิงเชือกอยู่กับหมู่ไว้เหมือนเทวทัต แม้จะยังคิดไม่ออก ลดทุกข์ได้นิดเดียวก็ดีที่สุดแล้ว ขยันฟังธรรม ขยันเข้าสายด่วน ขยันส่งการบ้านก็จะรู้มากขึ้นๆ กิเลสเข้าจะไม่รู้ว่าเกิดจากอะไรแต่ถ้าทำไปทำไปจะคิดออกว่าใช้อะไรถูกกัน อาจจะรู้เอง เพื่อนบอกก็ได้ ให้ยินดีตลอดเวลาเพราะบางปัญหาแก้ได้ บางปัญหาแก้ไม่ได้ เรายินดีนั่นละแก้ปัญหาเรียบร้อยแล้ว และไม่ได้ทำวิบากร้ายเพิ่ม กล้ารับ กล้าให้มันหมดไป เป็นการแก้ปัญหาในตัว ก็จะมีลดลง แบบลดลง แบบไม่มา แบบเท่าเดิม แบบเพิ่มขึ้น แต่ก็ลดลงทั้งหมดนั่นแหละ ให้ทำดีเรื่อยไปใจเย็นข้ามชาติ |
นาง | สุมา ไชยช่วย | ยินดีที่โง่ยินดีทุกข์ |
นาง | สุขสุมน นีระพันธุ | |
นางสาว | ชยารัตน์ รัตนเสน | |
นางสาว | นิตยาภรณ์ สุระสาย | |
นาง | อรวิภา กริฟฟิธส์์ | |
นางสาว | ชยารัตน์ รัตนเสน | |
นางสาว | จาริณี กวีวิวิธชัย | ปีติ อิ่มใจ |
นางสาว | อรุณรัตน์ ไกรลาศศิริ | |
นางสาว | พวงบุปผา หนูรัก | ทำให้พ้นทุกข์ได้ในแต่ละวันแต่ละเรื่องที่ทุกข์ค่ะ |
นางสาว | อรุณรัตน์ ไกรลาศศิริ | |
นางสาว | จาริณี กวีวิวิธชัย | ยินดีในสิ่งที่ร่วมบำเพ็ญ |
นางสาว | นวลนภา ยุคกันตพรพงษ์ | ลดความอยากในการพูด |
นาย | เมธา ว่องวิวัฒน์ไวทยะ | มีความยินดีในทุกเหตุการณ์ |
นาง | ภัคภร จันทราสกุล | หยุดอยาก หยุดโง่ หยุดทุกข์ |
นางสาว | เสริมศรี ชวานิสากุล | กล้าที่จะให้ทุกชีวิตได้รับได้ชดใช้วิบากกรรมที่แต่ละชีวิตได้ทำมา เมื่อเราเชื่อและชัดเรื่องกรรมเราจะค่อยๆ ลดความทุกข์ใจลงได้เรื่อยๆ และหมดสิ้นไปในสักวัน |
นาง | ภัคภร จันทราสกุล | |
นางสาว | ณฐมน วงค์ภักดี | |
นาง | ณัฐพร คงประเสริฐ | นำปัญญามาล้างกิเลสตน และช่วยเหลือคนที่ศรัทธา |
นาย | พลัฏฐ์ รัตนวชิรินทร์ | |
นาง | ประคอง เก็บนาค | คนมีปัญญาแม้ตกทุกข์ก็ยังหาสุขพบ คิดแล้วทุกข์ไม่ดีเป็นมิจฉาสังกัปปะ แต่คิดแล้วพ้นทุกข์คือสัมมาสังกัปปะ คือการคิดที่ถูกต้อง ถูกตรง อย่าให้เดือดร้อน เบียดเบียนตัวเอง คนอื่น สัตว์อื่น |
นาย | เมธา ว่องวิวัฒน์ไวทยะ | |
นางสาว | ณฐมน วงค์ภักดี | |
นาย | ประพันธ์ โพธิ์คำ เท่ ใจถึงศีล | ยินดีในสิ่งที่ไม่ถูกใจ ไม่ได้ดั่งใจ / กิเลสต้องล้าง วิบากร้ายต้องรับ / กล้าทำในสิ่งในเรื่องที่ดีๆ กลัวที่จะกระทำในวิ่งในเรื่องที่ผิดๆ ไม่ดี / ตั้งอริยศีลในการปรพฤติปฏิบัติต่อๆไป / ทำใจวางใจในสิ่งที่ไม่ชอบ ไม่ชัง / พรัอมรับ พร้อมปรับ พร้องเปลี่ยน พร้อมปรับปรุง ตัวเอง ให้ทำงานร่วมกับหมู่มิตร |
นาง | สุขสุมน นีระพันธุ์ | ยินดีให้ได้ในทุกสภาวะธรรมที่เกิดขึ้นในแต่ละขณะทำให้เกิดวิบากดีดันวิบากร้านออกไปได้ |
นาง | พรนภา บุรณศิริ | |
นางสาว | สุพร สุดงาม | มีใจไร้ทุกข์ ปล่อยวางความทุกข์ได้มากขึ้น |
นาง | พรนภา บุรณศิริ | |
นาง | สนทยา กันทะมูล | |
นางสาว | สันทนา ประวงศ์ | ได้พลังจากท่าน อ.หมอเขียว และพี่น้องหมู่กลุ่มเติมพลังในการล้างกิเลสในทุกๆ วัน ธรรมะที่ท่านอาจารย์หมอเขียวบรรยาย เป็จสัจจะที่พาพ้นทุกข์ อย่างแท้จริง ได้เติมปัญญาให้พาพ้นทุกข์ ได้พลังเติมๆ จากผู้ที่ปฏิบัติแล้วได้จริง เด็ดขาดกับกิเลสทุกตัว |
นาง | พรนภา บุรณศิริ | |
นาย | มงคลวัฒน์ รัตนชล | กล้ารับวิบากด้วยความยินดีเต็มใจได้ก็ร้ายหมดอีกแล้วเรามีแต่โชคดีขึ้น |
นางสาว | ผ่องไพรธรรม กล้าจน | กล้าที่จะไม่ได้ในสิ่งที่อยากได้ ให้ได้ ชีวิตก็ไม่มีอะไรทุกข์ อยากได้ดั่งใจให้ได้ |
นาง | วณิชชา จันทร์จรัสวัฒนา | กิเลสลด ใจดีงาม ใจผาสุก |
นางสาว | ประภัสสร วารี | ชีวิต คือ ความรู้สึก ความรู้สึก "สบาย" คือ สูงสุดในขีวิต สูงสุดของชีวิต คือ ต้องการความมั่นใจ สุขสบายใจ |
นางสาว | นางสาว ศิริพร คำวงษ์ศรี | หลังจากที่ได้ฟังธรรมแล้ว รู้สึกมีความกล้าหาญ และยินดีในการยอมรับทุกสถานการณ์ ยิ้มได้มากขึ้น ยอมรับว่าความทุกข์บางทีก็ต้องปล่อยให้เป็นไปตามความเป็นจริงนั้น ๆ จะให้หายทุกข์ หายโง่เลยไม่ได้ ต้องทำความโชคดีให้เกิดขึ้นก่อน ด้วยการชดใช้สิ่งที่ได้เคยกระทำไว้ รับแล้วหมดไป ก็จะโชคดีขึ้น พร้อมพัง พร้อมไม่สมบูรณ์ ลดความโลภอยากให้ทุกอย่างเกิดดีดั่งใจหมาย เชื่อมั่นในความดี และการสานพลังของหมู่มิตรดี ตามที่อาจารย์ได้สอนไว้ รู้สึกตนเองโชคดีมากที่สุดที่ได้มารับฟังธรรมะของอาจารย์ แต่ก็รู้ตัวดีว่า ยังไม่สามารถทำได้มาก ก็ยังตามธรรมที่ตนเองมีอยู่ ถึงบางครั้งจะมีความขี้เกียจ เพราะเสพงาน เสพกิเลสมา ทำให้เกิดอาการไม่อยากฟังธรรมะของอาจารย์ แต่วันไหนทุกข์มาก ก็ต้องจำนน เพราะรู้ว่านี่คือที่สุดของปัญญาแห่งการพ้นทุกข์ จะแพ้ก็เพราะเรา ไม่ใช่ใคร แต่จะยังขอสู้ต่อไปเท่าที่ไหวค่ะ |
นางสาว | ภูเพียรธรรม กล้าจน | เห็นด้วยกับคำสอนอาจารย์ อาจารย์พูดความจริงทุกอย่าง ผู้ใดนำไปปฏิบัติได้ถึงแก่น ก็พ้นทุกข์ได้ทั้งหมด ได้เห็นและเข้าใจในส่ิ่งที่เราทำมา เป็นมา เพื่อจะได้รีบพากเพียรปรับแก้ไขให้ถูกต้องถูกตรงยิ่งๆ ขึ้น ได้นำคำสอนของอาจารย์ไปปฏิบัติให้ถูกตรง และเผยแพร่ออกไป เท่าที่ทำได้จริง จะพากเพียรให้เจริญยิ่งๆ ขึ้นไป |
นาง | ณัฐพร คงประเสริฐ | สาระธรรมจากค่ายพระไตรปิฎก ครั้งที่ 32 รุ่น แพทย์แผนไทยวิถีธรรม ค้ำจุนโลก สถานการณ์ในช่วงของการจัดค่ายพระไตรปิฎกในครั้งที่ 32 นี้ แรกเริ่มเดิมทีจัด 7 วัน พอผ่านไป 4 วันจำนวนพี่น้องสมัครเข้าค่ายมาเพิ่มขึ้นมากทุกวัน ๆ ท่านอาจารย์ได้เมตตามีดำริ ให้ขยายเพิ่มวันเป็น 10 วัน จึงเป็นช่วงวันที่ 18-27 กันยายน 2564 เว้น 4 วันจัดอีกจะมีค่ายเดือนละ 2 ครั้ง ตรงกับสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด19 ทั่วโลกที่ระบาดยาวนานเป็นปี ๆ แล้ว โดยในประเทศไทยมีการระบาดเป็นระลอกที่ 4 และสถานการณ์อาจจะเข้าสู่ระลอกที่ 5 หือไม่ ไม่มีใครรู้ แม้จะมีการระดมกำลังของทุกภาคส่วนร่วมมือกันช่วยเหลือผู้ที่ติดเชื้ออย่างเต็มที่แล้ว โรคก็ยังไม่หายไป แต่ชาวอโศก ชาวแพทย์วิถีธรรม กลับอยู่เย็นเป็นสุข ผาสุกยั่งยืนได้ 1. สรุปสาระธรรม ชาวอโศกหรือชาวแพทย์วิถีธรรม อยู่รอดด้วยการล็อคดาวน์ สวมแมส เว้นระยะ ล้างมือ ถือศีล ทำสมดุลร้อนเย็น ทำกสิกรรมไร้สารพิษ ทำเศรษฐกิจพอเพียง และแบ่งปันเกื้อกูลช่วยเหลือกัน โดยเข้าใจแล้วว่าโรคต่าง ๆ เกิดจากวิบากร้าย และร้อนเย็นไม่สมดุล ที่มีทั้งด้านจิตใจและร่างกาย ในวงการสุขภาพทั่วไปไม่รู้ว่าการรักษาโรคนั้นต้องรักษาที่ต้นเหตุ คือลดกิเลส เพิ่มศีล ตั้งศีลมาลด ละ เลิก สิ่งที่เป็นโทษเป็นภัย มาอาศัยในสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อตนเอง คนอื่น สัตว์อื่น ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และเหตุการณ์ การปฏิบัติอริยศีล อริยสัจ 4 ที่สามารถกำจัดกิเลสได้ เป็นวิบากดีที่ก่อให้เกิดสิ่งที่ดี ๆ เข้ามา ดันสิ่งร้ายออกไป เป็นแรงเหนี่ยวนำให้ผู้อื่นทำตาม ดั้งนั้นการดูแลสุขภาพจึงต้องทำควบคู่กับธรรมะ แพทย์วิถีธรรมเป็นแพทย์พุทธศาสตร์ วิถีพุทธ วิถีธรรม ที่บูรณาการองค์ความรู้ทุก ๆ ด้านมาเป็นศาสตร์ของการพึ่งตนและช่วยคนให้พ้นทุกข์ ด้วยการใช้สิ่งที่เรียบง่าย ใกล้ตัว ในตัว มาใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งมีเคล็ดไม่ลับว่าต้องปฏิบัติศีล จึงจะเกิดผลฉับพลันทันที จิตวิญาณเป็นประธานของสิ่งทั้งปวง การดับทุกข์ต้องดับที่เหตุ การปฏิบัติสู่ความพ้นทุกข์ เพื่อความผาสุก ทั้งทางกายและใจ กิเลสความอยากทำให้เกิดวิบากร้าย ทุกข์ที่ทุกข์ที่สุดในโลก คือความทุกข์ใจ ความกลัว กังวล หวั่นไหวจะไม่ได้ตามที่อยาก เกิดทุกข์กาย เดือดเนื้อร้อนใจ ร่างกายต้องเกร็งตัวบีบความทุกข์ใจออก ทำให้โครงสร้าง โครงรูปของเซลล์ผิดปกติ เสียหน้าที่ เป็นโรคได้ทุกโรค เป็นเหตุของทุกข์ทั้งหมดทั้งมวล ดังนั้นการเปลี่ยนความกลัวให้เป็นความกล้า กล้าและยินดีที่จะไม่ได้ตามที่อยาก หมดอยากโดยพิจารณาไตรลักษณ์ของกิเลส จิตใจก็มีเป็นสุข ร่างกายก็ไม่ต้องเกร็งตัว เพราะไม่มีความทุกข์ใจ เซลล์ก็ปกติ สร้างอินเตอร์เฟอรอน และเม็ดเลือดขาวให้แข็งแรง ทำให้หายจากโรคได้ทุกโรค จับจุดเดียวทะลายทุกข์ทั้งแนว ไม่ว่าเราจะทำกิจกรรม การงานใด ๆ ถ้าไม่มีธรรมะ ไม่ได้ปฏิบัติอริยศีลที่ถูกต้อง ถูกตรง ก็ไม่สามารถแก้ปัญหาได้อย่างแท้จริง การที่เราล้างกิเลส ความชอบที่ได้เสพ ความชังที่ไม่ได้เสพ ความอยาก ความยึดมั่นถือมั่น ความสุขลวง ความทุกข์จริงได้ จะทำให้มีประสาทสัมผัสที่ดีที่จะรู้ได้ว่าสิ่งใดถูกกัน สิ่งใดไม่ถูกกัน ซึ่งเป็นพลังพิเศษที่จะทำให้เกิดปัญญา รู้ความจริงตามความเป็นจริง คิด พูด ทำดี จะเป็นวิบากดีมีสิ่งดีเข้ามา คิด พูด ทำ ในสิ่งที่ไม่ดีเป็นวิบากร้ายมีสิ่งร้ายเข้ามา ทำให้มีปัญญาแววไว พร้อมปรับพร้อมเปลี่ยน ประมาณได้ดี และที่สำคัญคือหลุดพ้นจากทุกข์ได้ อริยศีลจึงเป็นคำตอบสุดท้าย ดั่งที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า “เราตามรักษาศีลของเรา ไม่ได้ตามรักษาชีวิตของเรา” นับหนึ่งที่เราเริ่มต้นที่เรา ปฏิบัติที่เราเป็นการช่วยคนอื่นอย่างแท้จริง 2. ความรู้ที่ได้สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในยุคโควิดอย่างไร ? นำความรู้ที่ได้มาปฏิบัติที่ตนและช่วยคนที่ศรัทธา ได้มีโอกาสตั้งอธิศีล ร่วมกับหมู่มิตรดี และบำเพ็ญกุศลร่วมกับทั้งพี่น้องจิตอาสาแพทย์วิถีธรรมและผู้เข้ารับการอบรม สามารถอิ่มเอิบเบิกบานแจ่มใส ไร้กังวล แม้พบเจอกับเหตุการณ์เรื่องราวที่ไม่ถูกใจเรา ทำสมดุลร้อนเย็นจิตใจ ร่างกาย อยู่อย่างพอเพียง พึ่งตนในสิ่งที่ดีงาม เป็นประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น 3. ในสถานการณ์โรคโควิด19 ระบาดหนัก ได้อาสาช่วยเหลือพี่น้องที่เดือดร้อนร่วมกับทีมสาธารณสุขในภาครัฐ ในการทำงานช่วยเหลือประชาชนที่กำลังเดือดร้อนให้ได้รับการช่วยเหลือ คลายทุกข์ในชีวิตได้ด้วยการบูรณาการข้อดีของศาสตร์ต่าง ๆ มาใช้แนะนำ ช่วยเหลือประชาชนที่ต้องการและยินดีรับความช่วยเหลือนั้น ๆ 4. โดยเฉพาะการบูรณาการใช้ศาสตร์แพทย์วิถีธรรม ใช้ยาเม็ดเลิศ ยาเม็ดหลัก ยาเม็ดเสริม มาปรับสมดุลทั้งกายใจของตนเองและผู้ที่ศรัทธา ทำให้จิตใจผาสุกขึ้นตามลำดับ ได้นำน้ำสามพลังจากสวนป่านาบุญ 3 และสวนป่านาบุญ 9 มามอบให้กับผู้ป่วยโควิดในศูนย์พักคอยในพื้นที่ที่รับผิดชอบ ช่วยให้ผู้ป่วยอาการดีขึ้นอย่างอย่างดี ไปร่วมทำงานฉีดวัคซีน ตรวจหาเชื้อเชิงรุกด้วยความไม่ประมาท ประสานติดต่อให้คำแนะนำสืบสวนสอบสวนโรคกับผู้ป่วยที่ติดเชื้อโควิด19 ในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ จัดหาบริจาคหนังสือ ชุดชุบชีพช่วยชาติ ร่วมกับหมู่มิตรดี มอบให้ ผู้ป่วย COVID-19 ทีมงานสาธารณสุขและครอบครัว ในเขตที่รับผิดชอบ |
นางสาว | พวงเพ็ญ ทองเย็น | สิ่งที่ทุกชีวิตต้องการที่แท้จริงคือความสุขทางใจ |
นางสาว | อ้อน สุลักษณะ | |
นางสาว | อ้อน สุลักษณะ | |
นางสาว | ผ่องไพรธรรม กล้าจน | ไม่มีอะไรสำคัญในโลกใบนี้ เท่ากับ ความไม่ยึเมั่นถือมั่น |
นางสาว | ณฐิตา อินชัยยงค์ | ให้ยินดีรับ อย่าชังที่จะรับ ใช้โอกาสนี้กำจัดมาร ตัวมารคือทุกข์ ระหว่างทำงานเวลามีใครเอางานอื่นมาแทรก ก็จะเห็นความชัง คิดว่าทำไมไม่ทำเอง มันไม่อยากทำ ก็พยายามคิดว่าไม่ได้ดั่งใจก็ดีแล้ว ได้ช่วยเหลือคนอื่นบ้างก็ดีแล้ว เป็นประโยชน์กับผู้อื่น ก็ยังล้างไม่ได้ พยายามจะคิดดีสู้ |
นางสาว | อรสา โนททอง | เข้าใจกลไกการเกิดโรคของร่างกายที่สัมพันธ์กันทั้งทางโลก และทางธรรม |
นาย | เิอกศิริ ตันติศรีไกรแสง | ละอบายมุกได้ ศัลห้าเบี้องต้นสมบูรณ์ เลิกทานเนื้อสัตว์เด็ดขาด ทานจืดรสไม่จัด ปล่อยวางความยึดมั่นถือมั่นได้มากขึ้น |
นางสาว | ณฐิตา อินชัยยงค์ | |
นางสาว | วิภาวัลย์ ถนัดธรรมกุล | |
นาย | คมเวช หงส์เชิดชัย | |
นางสาว | ดุสิดา ตั้งธีรภัทร | จิตเป็นตัวกำหนดให้เข้าถึงธรรม รับรู้ในธรรม ปฏิบัติในทางธรรม |
นางสาว | เสริมสรี ชวานิสากุล | |
นาง | วารุณี เกตุพงศ์สุดา | อริยปัญญา ปัญญาที่รุ้จักอริยสััจ4เรียนรุ้ทุกข์ทั้งหลายที่เกิดขึ้นจากตัณหาความมอยาก เข้าใจให้ได้ มัมมีกลไกทำให้เกิดทุกข์ กล้าที่จะหมดอยาก กล้าที่จะไม่ได้ตามที่อยาก ยินดีที่จะหมดอยาก ชอบที่จะหมดอยาก พอใจที่่่จะหมดอยาก หมดทุกข์ผาสุกยั่งยืน |
นาง | ดาวรุ่ง บัวแก้ว | หมอที่ดีที่สุดคือตัวเราเอง/พึ่งตนเอง/แบ่งปัน/รักษาอริยศีล |
นางสาว | ปัทมา ลีฬหาวงศ์ | การฟังธรรมบ่อยได้ประโยชน์ในการนำมาปรับใช้ในชีวิตทั้งตนเองอละการช่วยเหลือผู้อื่นโดยเฉพาะ หลัก อริยสัจสี่ |
นางสาว | อาภรณ์ ดิษฐบุตร | สุขใจ ชัดเจนค่ะ |
นาย | ชัยวัฒ์ ประพัฒน์รังษี | |
นาย | พืชผล ไชยบุบผา | มีจิตใจ เสียสละ |
นางสาว | เสาวนีย์ สอนอาจ | ยินดีในทุกสถาณการณ์ที่เกิด กล้าที่จะเกิดเรื่องร้าย กล้าที่จะไม่ได้ดังใจหมายเพราะสิ่งที่เราได้รับคือสิ่งที่เราทำมา ไม่มีสิ่งใดที่เราได้รับโดยที่เราไม่ได้ทำมา ทุกอย่างยุติธรรมเสมอเชื่อชัดในเรื่องของกรรมอย่างแจ่มแจ้ง |
นาง | จิตรา พรหมโคตร | ได้สาระธรรมในค่ายพระไตรปิฏกครั้งที่ 32 ในเรื่องเมถุนซึ่งเมื่อก่อนจะเข้าใจว่าเป็นเรื่องของคนคู่เท่านั้น แต่เมื่อมาได้ฟังธรรมครั้งนี้ได้เข้าใจชัดเจนในความหมายของคำว่าเมถุนเป็นเรื่องของความเป็นคู่ของคู่สูขทุกข์จากกิเลสหรือเรียกว่าเพื่อน2 คือการมีพุทธะกับกิเลส ซึ่งเราจะต้องมาล้างความเป็นคู่ด้วยอริยสัจ4 |
นางสาว | ศิรินภา คำวงษ์ศรี | กล้าที่จะรับสิ่งที่ดีและร้าย ไม่ว่าจะเป็นความเจ็บป่วย หรือเหตุการณ์ใดๆ ด้วยใจที่ผาสุก เพราะเป็นวิบากที่เราทำมา ส่งเสริมมา |
นาง | ลักขณา ไชยรัตน์ | ได้รับฟังบททยทวนธรรม และอ่านซ้ำๆข้อ1-165 ได้ฝึกการตั้งศิล การลดละเลิกเนื้อสัตว์แบะผลิตภัณฑ์จากสัตว์ ไม่โกรธ ไม่เกลียด ไม่ชัง ฝึกการกล้าเผชิญทุกเรื่องทุกเหตุการณ์ ทั้งเรื่องร้ายและดี ยินดีในทุกเรื่องง |
นาย | อัฑฒ์ฐากร ประทีปฐานิศร์ | ได้ความกล้าที่จะไม่กลัว เป็นครั้งแรกในชีวิต |
นางสาว | สุดใจ โสะหาบ | จากการที่ได้ฟังธรรมจากอาจารย์หมอเขียวในแต่ละครั้งทำให้ตัวเองได้ใช้ชีวิตด้วยความผาสุกทำให้ร่ายกายแข็งแรงทั้งกายและใจได้มีฝึกลดกิเลสลงไปตามลำดับได้เอาความกล้าชนะความกลัวได้ในบางเรื่องจะพยายามฝึกลดกิเลสต่อไปค่ะ |
นางสาว | สุดใจ โสะหาบ | การเข้าค่ายในครั้งนี้ประทับใจที่อาจารย์ให้ข้อคิดในการเอาความกล้ามาชนะความกลัวให้ได้ชีวิตจะได้มีความสุขมากขึ้นและหลังจากที่ได้ฟังทำให้ตัวเองมีความมั่นใจในตัวเองมากขึ้นและได้เรียนรู้การดูแลตัวเองสามารถพึ่งตัวเองได้จึงใช้ชีวิตประจำวันด้วยใจที่เบิกบานเป็นสุขค่ะ |
นางสาว | นมลชนก แก้วเกษ | ได้ชัดเจนแม่นประเด็นในการกำจัดกิเลสมากขึ้น เด็ดขาดในจิตวิญญาณที่จะกล้าคิดให้พ้นทุกข์ ไม่กลัวว่าจะไม่ได้ดั่งใจหมาย ไม่ทุกข์ไม่ว่าจะเกิดอะไรในสถานการณ์ใด เพราะเชื่อชัดเรื่องกรรมอย่างแจ่มแจ้ง กล้า ยินดีรับในสิ่งที่ตัวเองทำมาในทุกเรื่องทุกมิติให้ได้ วิธีแก้ปัญหาทุกปัญหาในโลกคือ ดับตัณหา ให้ได้ ดับทุกข์ด้วยการดับตัณหา ดับความอยากเป็นมหากุศล จะเกิดปัญญาในการแก้ปัญหา ได้ฟังสิ่งที่ยังไม่เคยฟัง ได้เข้าใจชัดสิ่งที่ฟังแล้วยิ่งๆขึ้นไป บรรเทาความสงสัย ทำความเห็นได้ถูกตรง(เติมสัมมาทิฏฐิยิ่งขึ้น)กราบคาระคุณงามความดี เคารพศรัทธาเชื่อมั่นในคำสอนของท่านอาจารย์ น้อมนำคำสอนมาฝึกฝนพัฒนาปฏิบัติที่ตนเอง ตรวจสอบข้อพร่องข้อไม่ดีของตนเอง พากเพียรที่จะปรับปรุงแก้ไขตนเองให้ดียิ่งๆขึ้นไปตามลำดับๆ กราบสาธุค่ะ |
นาง | นิตยาภรณ์ สุระสาย | |
นางสาว | เสาวนีย์ สอนอาจ | ต้องเป็นผู้ที่กล้าที่จะไม่กลัวเพราะกลัวคือผิด ศีล คือทุกข์ ต้องกล้าที่จะไม่ได้ดังใจหมายในทุกสิ่งอย่างให้ได้จึงจะไม่ชั่ว ไม่ผิดศีล และไม่ทุกข์ |
นางสาว | ผ่องไพรธรรม กล้าจน | ไม่ยึด ไม่ทุกข์ |
นาง | วารุณี เกตุพงศ์สุดา | |
นางสาว | เสริมศรี ชวานิสากุล | ถ้ามีโอกาสได้พบความเจ็บป่วยหรือเรื่องราวที่ไม่ถูกใจเราไม่ได้ดังใจเรา เป็นเครื่งอมือให้เราฝึกความกล้าในการยินดียอมรับวิบากร้ายที่เราเคยทำมาในอดีตที่เราเคยพลาดทำผิดศีลมา และไม่สร้างวิบากร้ายใหม่ด้วยการผิดศีลทำทุกข์ใจให้กับตนเอง เพราะเข้าใจเรื่องกรรมอย่างแจ่มแจ้ง |
นาง | วสา ราญคำรัตน์ | ความกลัว หวั่นไหว ทำให้เกิดโรค |
นางสาว | ธัญมน หมวดเหมน(มั่นแสงธรรม) | ทำให้รู้ว่า ความกลัว กังวล ระแวง หวั่นไหว เป็นตันเหตุของการเกิดโรคได้ทุกโรค ทำให้เกิดความทุกข์ทั้งหมดทั้งมวล วิธีที่จะพ้นจากความกลัวความทุกข์ได้ คือต้องตามหาสัตบุรุษผู้มีความเห็นที่ถูกตรง และสามารถกำจัดกิเลสน้อยใหญ่ได้จริง ได้พบและฟังสัทธรรม(ธรรมที่ดีแท้ที่ถูกตรง)จากท่าน ได้พบและเคารพหมู่มิตรดี สหายดี การจะกำจัดความทุกข์ การจะกำจัดความกลัว ต้องใช้ความกล้า กล้าที่จะรับสิ่งร้ายที่เราไม่อยากได้ ไม่อยากให้เกิดให้ได้ ยอมและกล้าให้สิ่งเลวร้ายสุดๆที่เรากลัวเกิดให้ได้ เราก็จะไม่ทุกข์ใจกับอะไรหรือไม่มีอะไรทำให้ใจเราเป็นทุกข์ได้อีก เพราะเข้าใจเรื่องกรรมอย่างแจ่มแจ้งว่า ทุกสิ่งทุกอย่างที่เราได้รับในชีวิต คือสิ่งที่เราทำมา และไม่มีใครหนีพ้นอำนาจแห่งกรรมไปได้ ทำกรรมดีย่อมได้รับผลดีทำกรรมชั่วย่อมได้รับผลชั่ว ทำให้รู้ว่าต้นเหตุที่แท้จริงของทุกข์และโรคร้ายทั้งมวล เกิดจากร่างกายที่ไม่สมดุลทางด้านวัตถุและสิ่งที่อยู่เบื้องหลังที่ทำให้เกิดการเจ็บป่วยมากที่สุดคือวิบากร้ายจากการเสพกิเลส การจะสู้กับทุกข์และโรคร้ายที่มีวิบากร้ายเป็นตัวกำหนดเราต้องใช้วิบากดีใช้บุญกุศลที่มากพอเท่านั้น จึงจะต่อสู้กับวิบากร้ายที่มหาศาลนั้นได้ เพราะฉะนั้นการรักษาโรค ที่จะให้ได้ผลดีมีประสิทธิภาพ และยั่งยืน ต้องลดกิเลส ลดวิบากร้าย สร้างวิบากดี เพื่อต่อสู้กับวิบากร้าย ที่หนักของคนในโลก ต้องใช้บุญกุศลความดี รักษาทางด้านจิตใจไปพร้อมๆกับการรักษาทางด้านวัตถุ จึงจะได้ผล ยั่งยืนถาวร ใช้การปฏิบัติศีลควบคู่ไปกับการฉีดวัคซีนซึ่งเป็นการรักษาทางวัตถุ |
นางสาว | ประทุมทิพย์ ไชยชิตร | ทุกข์ใจทุกข์ที่สุดในโลก ทุกข์กายแค่ฝุ่นปลายเล็บ |
นางสาว | นงลักษณ์ สมศรี | ได้รับรู้ความละเอียด ของศีล ทำให้ชัดเจนกับการตั้งอธิศีล ได้ละเอียดมากขึ้น อาจารย์ฆ่ากิเลสให้อย่างทะลุทะลวง ให้ใช้ความกล้า ยินดี ที่จะรับทุกข์ รับวิบากให้ได้ อย่างเต็มใจ ไม่ให้กลัวในทุกเรื่อง รวมทั้งการประมาณต่างๆ |
นาง | ดรุณี อินทนิล | สิ่งที่เราได้รับคือสิ่งที่เราทำมา กู เรา ฉันทำมา หาที่ต้นที่สุดไม่ได้ รับแล้วหมดไปแล้วจะโชคดีขึ้น ไม่อยากก็ไม่ทุกข์ เต็มใจรับเต็มใจให้หมดไป ทุกข์เท่าที่โง่ กล้าจะไม่ทุกข์ กลัวจะทุกข์ |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | ได้ประโยชน์ในการเพิ่มศีลสำรวมระวังไม่ปะมาท |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | สุขใจเมื่อได้ฟังคำสอนท่อาจารย์บรรยายธรรมะฟังซ้ำ ๆเพื่อขัด้กลากิเลสละเพิ่มศีลให้สูงขึ้นตามลำดับ |
นางสาว | ลักขณา แซ่โซ้ว | กล้าที่จะรับในสิ่งที่เรากลัวให้ได้ |
นาย | สุมิตชัย ศรีจันดี | สภาวะธรรมที่ได้ กล้าที่จะไม่ได้ตามที่อยาก จะได้สิ่งที่กลัวจะไม่ได้มากกว่า กลัวที่จะไม่ได้ตามที่อยากมากกว่า พิสูจน์โดย ครั้งหนึ่งได้ทำของหายหายังไงก็ไม่เจอ เลยวางใจ กล้าที่จะหาไม่เจอช่างมันไม่เจอก็ได้ก็ไม่ทุกข์ ปรากฏว่านั่งอยู่ก็เลยหาของเจอเลย |
นางสาว | นาลี วิไลสัก | |
นางสาว | สุทัศณีย์ วงษ์กิ่ง | (ความอยากได้อยากมีอยากเป็นคือทุกข์อริยสัจะจเสพสิ่งที่อยากเพลิดเพลิน))หลงตัวหลงตน |
นางสาว | ปัญญาวันทน์ กันทะขู้ | ล้างทุกข์ของตัวเองได้บ้างค่ะ |
นางสาว | วันเพ ตั้งสกุลวงศ์ | จริงๆแล้วได้สภาวะธรรมหลาย อย่างเลยค่ะ แต่ที่เด่นที่สุดคือ กล้าที่จะคิดให้พ้นทุกข์ค่ะ จิตเราชอบจะคิดในสิ่งที่ไม่ดี ทำให้เราทุกข์ เราก็จะ เอา อริยสัจสี่ เข้ามาดับทุกข์ ได้เร็วขึ้น ทำให้ทุกข์ น้อยลง และ ไม่ทุกข์ในที่สุดค่ะ |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | ใจไร้ทุกข์ ใจดีงาม ใจเป็นสุข |
นาง | ดอกไม้ ปวะบุตร | การจะพ้นจากทุกข์ได้ต้องละกิเลส ไม่เบียดเบียนชีวิตตนเอง คนอื่น สัตว์อื่น และกล้าที่จะยอมรับความจริงทั้งดีและไม่ดี กล้าที่จะได้และกล้าที่จะไม่ได้ด้วยใจที่แกล้วกล้าเบิกบาน |
นางสาว | ปภาพิศา มงคลธนาวุฒิ(ณิ) | จิตนิ่งขึ้นค่ะ มีสมาธิมากขึ้น |
นางสาว | ปภาพิศา มงคลธนาวุฒิ(ณิ) | ได้รุ้สภาวะจิตตนเอง เมืีอเกิดอาการต่างๆ เช่น มีความเครียดเมื่อเห็นสุนัขสัตว์เลี้ยงตนเองป่วยเนืีองจากอายุมากแล้ว จึงทำให้ร่างกายอ่อนแอ เดินไม่ค่อยไหว ได้ใช้หลักธรรมมะมาข่มจิตใจ ว่าเรามีความพลัดพรากเป็นธรรมดาของสัตว์โลก ต้องยอมรับให้ได้ ความทุกข์ความเศร้า ที่ไปยึดติดทำให้จิตเป็นทุกข์ต้องปล่อยวาให้ได้ ไม่มีอะไรจีรังยั่งยืนวันนึงเค้าต้องจากเราไปง |
นางสาว | อรรถ์ธัชศร พิมพ์ศรี | ส่วนมากเน้นหนักไปที่การฟังบรรยาย ธรรมที่สอนอบอวลอยู่ในขีวิตประจำวัน โดยเฉพาะเมื่อยามจะทำเรื่องที่ละเมิดศีล เช่นเวลาจะทานเนื้อสัตว์ เสียงของอาจารย์หมอเขียวจะก้องอยู่ในภวังค์ตลอดๆ สาธุค่ะ |
นางสาว | เอ็นดู พูลสวัสดิ์ | น้อมเคราพอาจารย์ด้วยการตั้งใจฟังนำมาปฏิบัติเพื่อเพิ่มศลีเพื่อขัดเกลากิเลส |
นาง | กัญจนา อบรมชอบ | ได้ลด ละเลิกกิเลส ได้เรื่องการชอบกินขนมหวานและ ทำตามปฎิบัติได้เท่าที่จะพากเพียร |
นางสาว | นิตยา สุเมธากุลวัฒน์ | ให้ยินดี เต็มใจ รับสิ่งที่ไม่อยากได้ ไม่น่าได้ น่ามี น่าเป็น ด้วยใจไร้ทุกข์ |
นาย | กิตติ สิริพณิชพงศธร | เราต้องเริ่มฝึกดูเหตุการณ์ต่างๆที่พบเจอ แล้วตรวจดูว่ามีความคิดอะไรทำให้เราหลงสุขหลงทุกข์ แล้วกำจัดด้วยอริยสัจ4ครับ |
นาย | ยุทธนา อินหว่าง | |
นางสาว | เอ็นดู พูลสวัสดิ์ | ได้ลดละเลิกกิเลสเช่นไม่กินเนื้อสัตว์ |
นางสาว | เอ็นดู พูลสวัสดิ์ | ได้เข้าใจในเรื่องการพ้นทุกข์ |
นางสาว | เสริมศรี ชวานิสากุล | ทำตามใจอยากเป็นทุกข์ ไปทำผิดศีลเพราะกลัวจะไม่ได้ในสิ่งที่อยากได้ |
นาย | อัฑฒ์ฐากร ประทีปฐานิศร์ | |
นาง | เกษร อินต๊ะปัญณา | จิตเบิกบาน สุขสงบ |
นางสาว | นธกานต์ สุวรรณ | ใจไร้ทุกข์ ไปตามลำดับๆค่ะ |
นางสาว | นัฏฐา พิมาพันธุ์ศรี | กล้าโง่ ยอมโง่ ลองคิดตามอาจารย์เมื่อได้รับผัสสะ ได้ผลจริง ยอมโง่ ยอมทุกข์ปุ้บ หายทุกข์ปั้บ |
นางสาว | อัญชลี พุ่มแย้ม | เข้าใจในธรรมะมากขึ้นได้ทบทวนบทเรียน |
นาย | นาย พงศกร เนาว์ประโคน | |
นาง | วสา ราญคำรัตน์ | |
นาง | สุภัค กิมใช่ย้ง | เมื่อจิตหมดอยาก เราจะเห็นทางพ้นทุกข์ ลึกซึ้ง ในไตรลักษฯ |
นาย | มงคลวัฒน์ รัตนชล | เชื่อชัดเรื่องกรรม จะไม่กลัวไม่กังวล กล้ารับทุกวิบากร้าย จะสำนึกผิดยินดีรับโทษตั้งจิตไม่ทำสิ่งนั้น ทำกุศลช่วยคนอื่นให้พ้นทุกข์โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วยให้เขาเห็นกิเลสและลดกิเลสได้เป็นกุศลสูงสุด |
นาง | วันยา เรียนจันทร์ | มิตรดี สังคมดี สิ่งแวดล้อมดี คือทั้งหมดทั้งมวลของความพ้นทุกข์ |
นางสาว | อัญชลี พุ่มแย้ม | ได้ลดกิเลสมากขึ้น ทบทวนธรรม |
นาง | พรพรรณ เอ็ทสเลอร์ | เห็นความมีฉันทะในการบำเพ็ญ บุญ และ กุศล ในครั้งนี้อย่างมีความสุขเบิกบาน และมีความผาสุกในการร่วมบำเพ็ญกับหมู่มิตรดีค่ะ |
นาง | พรพรรณ เอ็ทสเลอร์ | มีความผาสุก มีพลัง ฮึกเฮิม มีความสุกในการทำงาน |
นาง | ณัชวรรณ ศรีเพชรส่องแสง | วัตถุไม่เที่ยง มีแต่ใจไร้ทุกข์เท่านั้นที่เที่ยง ยึดมั่นถือมั่นทำให้”ใจเป็นทุกข์”เกิดเป็นคนต้องฝึกยิ้มรับสิ่งดีสิ่งร้ายด้วยใจที่เป็นสุขให้ได้ ในโลกนี้..ไม่มีอะไรสำคัญเท่า”การดับทุกข์ใจให้ได้”ทุกข์ย่อมไม่ตกถึงผู้ที่เข้าใจ เชื่อและชัด เรื่องกรรมอย่างแจ่มแจ้ง |
นางสาว | สุนันท์ พิมพ์ศรี | ยินดี เบิกบาน |
นาย | สมยศ ภัทรกุลโชติพร | เช้าใจหลักในสภาวะธรรมมากขึ้น |
นาง | เวียงทอง นุ่นภักดี | ภัยคือทุกข์ทั้งหมดทั้งมวล ภัยคือการเกิดความหวั่นไหวความกวาดกลัวแก้ไขได้ด้วยการเปลี่ยนความกลัวให้เป็นความกล้า กล้าที่จะเจอสิ่งที่กลัวกล้าที่จะรับสิ่งที่กลัว กล้ารับกล้าให้หมดไป อย่าหวั่นไหวเพราะความกลัว ผู้ที่สามารถมีใจกล้าไม่หวั่นไหวได้พระพุทธเจ้าตรัสไว้ในอาพาธสูตรว่าผู้ที่หายจากโรคหายจากทุกข์ทางกายทางใจได้ต้องเปป็นผู้ใจสบายไร้ทุกข์ไร้ความกังวลซึ่งทำได้ต้องปฏิบัติศีลผู้ที่ปฏิบัติศีลได้จะมีใจแกล้วกล้าอาจหาญ ต้องกล้าที่จะถูกศีล ศีลคือข้อปฏิบัติให้ละความอยาก อยากมีอยากได้ อยากได้ตามที่อยากจนเบียนเบียนตัวเอง ผู้อื่น สัตว์อื่น การปฏิบัติศีลจะทำให้เราคลายจากเราคะ ตัณหาความอยากที่ไม่ดี เราจะคลายความยึดมั่นถือมั่น เมื่อเจอทุกข์เราจะมีปัญญาในการใช้อริยสัจสี่ คือ ทุกข์ เหตุแห่งทุกข์ สภาพกับทุกข์ หนทางดับทุกข์ ทำให้เราดับกิเลสแหตุแห่งทุกข์ทั้งปวง ศีลมีหลายระดับ ศีลละเอียดคือจุลศีลโดยเฉพาะศีลข้อหนึ่งเป็นทางเริ่มต้านสู่แดนพ้นทุกข์คือการไม่ทานเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์เพราะไม่เบียดเบียนตนเองและสัตว์อื่น |
นางสาว | วาสนา ศรีเพ็ง | จิตใจเย็นขึ้นและดีกว่าตอนแรกก่อนที่จะเข้าเรียนค่ะ |
นางสาว | อุษา บุตรพรม | ทุกข์ ทั้งหมด ทั้งมวน แก้ ที่ ใจ ค่ะ |
นางสาว | ประภาพรรณ โอษฐ์ยิ้มพราย | ได้ทั้งทางกายและใจ -รู้ย็น-ร้อนเย็นพันกัน รู้จักการจัดการแก้ไขความสมดุลย์ของร่างกายในขณะนั้นๆว่าเราควรใช้วัตถุใดเหมาะสมกับร่างกายเรา ด้านจิตใจ-ได้รู้จักกิเลส รู้จักทุกข์ รู้จักคิด ส่าคิดแบบนี้ทุกข์ แบบนี้พุทธะ รู้จักบาป -บุญ กุศล-อกุศล ได้เรียนรู้อริยสัจ4 รู้จักทุกข์อริยสัจ และรู้จักวิธีดับทุกข์ รู้จักการตั้งศีล และสิ่งสำคัญหรือหัวใจหลักในชีวิตในการแก้ปัญหาทุกข์ทั้งหมดอยู่ที่”ใจ” เมื่อดับทุกข์ที่ใจ หวั่นไหว กลัว กังวล ไม่ว่าจะเป็นความเจ็บป่วย หรือทุกข์จากเหตุการณ์ใด ก๋เกี่ยวเนื่องกับ”ใจ” ทั้งนั้น ดังนั้น ต้องดับทุกข์ใจ ให้ได้ก่อน ต้องกล้าที่จะรับเมื่อเมื่อเกิดเจ็บป่วยหรือเกิดเหตุการณ์ใดๆขึ้น ให้ได้ |
นางสาว | เพลินพิศ สังข์บุญลือ | เข้าใจมากขึ้นและสามารถใช้ในชีวิตประจำวันได้ดีอธิศีลเพิ่มขึ้นอย่างสบายๆ |
นาย | ธนวินท์ อินทนิล | |
นางสาว | เสริมศรี ชวานิสากุล | กรรมปัจจุบันเห็นเร็วทันใจ ชัดแจ้งจริงๆ ในครั้งนี้ |
นาง | วสา ราญคำรัตน์ | สำนึกและยอมรับผิด ยอมรับสิ่งที่เกิดขึ้นวิบากร้ายที่เกิดขึ้นในครั้งนั้นจะหมดไป |
นาง | ทัศนีย์ จันทา | ได้ความรู้ในการพึ่งตน และได้สานพลังกับหมู่มิตรดีดี |
นางสาว | ทรงรัตน์ พรหมช่วย | จิตใสงบขึ้น |
นาง | จิราภรณ์ ทองคู่ | ไม่กลัว ต้องกล้าที่จะไม่ได้ตามที่อยาก |
นาย | อุกฤษ กาลายี | จิตรใจสงบ |
นางสาว | อมรา อ่อนทรัพย์ | |
นาง | ชวนพิศ แก้วประดิษฐ | ชวนพิศ แก้วประดิษฐ ขออนุญาตส่งการบ้านค่ะ 1 คบและเคารพมิตรดี มาฟังอาจารย์บรรยายธรรมได้สาระดีๆหลายอย่างค่ะ เมื่อได้มีโอกาสเข้ามาอยู่ในกลุ่มมิตรดีมีความสุขและอบอุ่นสามารถพึ่งตนได้ และกำจัดกิเลส ดับทุกข์ทั้งกายและใจได้มากที่สุดในโลกค่ะ กว่าจะมาถึงกลุ่มมิตรดีไม่ใช่เรื่องง่ายแต่ก็ไม่ใช่เรื่องยาก ดูยูทูปจิ้มผิดจิ้มถูกจิ้มผิดจิ้มถูกหนูศึกษาเรียนร็ที่อาจารย์สอนบรรยายมาประมาณเดือนกว่าอยากดูแลสุขภาพที่ดีอยากเจอสิ่งดีๆและกลุ่มมิตรดีก็เจอแล้วค่ะและนำมาปฏิบัติตามอาจารย์และพี่ๆจิตอาสาให้คำแนะนำแล้วได้ผลดับทุกข์ได้มีสิ่งนึงที่อาจารย์พูดแล้วโดนใจหนูมาก การที่สามีนอกใจมันไม่ดีเอามาทำไมปล่อยมันหนูชอบใจมากค่ะหนูดับทุกข์ตรงนี้ได้สบาย เบากายมีกัำลังยิ้มได้ทุกวันนิค่ะ ขอกราบคาราวะพระอาจารย์หมอเขียวและกราบพี่ๆพวธ.จิตอาสาทุกๆท่านค่ะ สาธ สาธุค่ะ |
นาง | อินต๊ะปัญญา | ทำให้มีความยินดี สบายใจ ที่ลดการเบียดเบียนสัตว์ พิจารณาความเป็นโทษของสุขลวง ทุกข์จริง ไม่มีสุขลวง ทุกข์จริง แม้ไม่ได้ดั่งใจหมาย ก็ยินดีได้พ้นทุกข์ ลดกาม ลดพยาบาท ลดเบียดเบียน ลดกิเลสเราให้ได้ กิเลสมันหลอก เหมือนมายากล |
นางสาว | คูณทิพย์ วงษฺ์สุวรรณ | |
นาย | พระมหาสมศักดิ์ กิตฺติธมฺโม | สงบใจ |
นางสาว | สุพรสุดงาม | |
นาง | ดรุณี อินทนิล | ลด เนื้อ นม ไข่ ไม่เบียดเบียนสัตว์ เมตตาสัตว์เลี้ยงสุนัขที่บ้านมากขึ้น อาจารย์สอนว่า เขาคือพี่น้องเรา พ่อแม่เรา ญาติเรา เพื่ิอนเราเคยเกี่ยวข้อง ช่วยเหลือเลี้ยงดูกันมาก่อนทั้งนั้น |
นาง | ทัศนีย์ จันทา | เข้าใจเชื่อชัดในเรื่องกรรม วิบากที่เราต้องชดใช้ |
นางสาว | ภัทราพร จุ่นหัวโทน | ได้แนวทางดับทุกข์แก้ปัญหาชีวิต |
นางสาว | เสริมศรี ชวานิสากุล | เราทุกข์ใจเพราะเราชังบุคคล สิ่งของ เรื่องราว เหตุการณ์ ที่ไม่เป็นไปตามที่ใจเราอยากให้เป้น ตามที่เรายึดว่าต้องเป็นอย่างนี้เท่านั้น ถ้าเป็นไปแบบอื่นทุกสิ่งทุกอย่างทุกคนที่ไม่เป็นเหมือนที่เราคิดผิดหมด เราถูกคนเดียวเราจึงหมุนวนจมอยู่ในวังเวียนแห่งทุกข์อยู่คนเดียวในใจเรานั่นเอง |
นางสาว | อาภาพร จุ้ยยิ้ม | ได้แนวคิด ทบทวนตน ปรับจิตใจ เรียนรู้สิ่งที่ยังไม่เคยรู้ เรียนรู้สิ่งที่รู้มาบ้างแล้วให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น |
นาง | วสา ราญคำรัตน์ | สิ่งที่เราได้รับคือสิ่งที่เราทำมา ตัวเองมีอาการปวดหูข้างขวาเป็นเวลาหลายปีบางครั้งก็จะมีน้ำหนองใหลออกมาและจะเป็นๆหายๆแต่การหายจะมีระยะเวลาสั้นๆแล้วก็เป็นอีกจนได้นึกทบทวนว่าเราเคยทำสิ่งใดมาจึงได้นึกขึ้นได้ว่าในตอนที่เราเรียนอยู๋ประถมเรารังเกียจเพื่อนที่เป็นหูน้ำหนวกพอนึกขึ้นได้จึงขออโหสิกรรมสำนึกผิดแล้วอาการนั้นก็หายไปหูข้างขวาก็กลับมาเป็นปกติ |
นาง | ธมกร พลสุวรรณ | ความสุข-ความทุกข์ล้วนเกิดจากการกระทำของเราทั้งสิ้น ฉนั้นทุกอย่างต้องนับหนึ่งที่เรา และเริ่มต้นที่เรา เราเป็นผู้กระทำ |
นางสาว | อังคณา ทิพย์ผลาผล | ทบทวนธรรมทำให้ปล่อยวางได้เยอะ |
นางสาว | อังคณา ทิพย์ผลาผล | ทำให้ใจเย็นลงไม่ขี้บ่นลูกๆ |
นาง | เรณู ไชยศรี | รู้สึกอารมณ์ดีและมีความสุขที่ได้ฟังธรรม ยิ้มทั้งวันเลยค่ะ |
นางสาว | ปภาพิศา มงคลธนาวุฒิ(ณิ) | มีความกล้าที่อ่านบททบทวนธรรมออกสื่อ และลดความกลัวมีความเชื่อมั่นมากขึ้นและสังเกตกิเลสในใจตัวเอง |
นาง | ทัศนีย์ จันทา | ได้ฟังพี่น้องแบ่งปัน และได้คำตอบจากพี่ๆจิตอาสาทำให้รู้จักวางใจได้ตามลำดับ |
นาย | พลเอกอนันตร์ บุญรำไพ | ลด ละ สละ เลิก กิเกสทั้งปวง ขูดกลาให้เบาลง รักการช่วยเหลือ เสียสละ ให้อภัยมากขึ้น |
นางสาว | ว่าที่ร.ต.หญิงอำนวยพร ดวงโสภา | |
นาง | เวียงทอง นุ่นภักดี | อริยสัจสี่ คือ ซิราคะ คือไม่มีราคะ กิเลส ตัณหา การที่จะไม่มีราคะได้ต้องปฏิบัติศีล คลายจากสุขลวงทุกข์จริงและจำเป็นต้องมีหมู่มิตรดี ร่วมกันทำเหตุแห่งการหลุดพ้นซึ่งมีอยู่5ข้อ คือ 1. หลุดพ้นด้วยการฟังธรรม ฟังธรรมจากสัตบุรษผู้รู้จริง 2. หลุดพ้นด้วยการแสดงธรรม 3.หลุดพ้นด้วยการทบทวนธรรม 4. หลุดพ้นด้วยการตรึกตรองใคร่ครวญธรรม 5. หลุดพ้นด้วยการตั้งจิตมั่นในนิมิตร (สมาธินิมิต)ง |
นาง | สมใจ สิทธิพงษ์ | คลายความทุกข์ขายความทุกข์ความกังวลความอยากได้ดังใจรู้จักพอใจในสิ่งที่ได้สิ่งที่เป็น |
นาง | พรจรัส. ไชยวุฒิ | ใจเป็นสุข ได้ความรู้ |
นางสาว | ปภาดา จีนมะเริง(ซินดี้) | ได้ประโยชน์จากการรู้วิธีดับทุกข์ที่ต้นเหตุ |
นางสาว | ภนิดา ปินมณี | ใจสงบร่มเย็น |
นาง | [email protected] | ความโกรธความไม่พอใจไม่ชอบใจทำไห้เลือดไหลเวียนไม่สดวกไม่โกรธไม่โทษปราถนาดีต่อทุกชีวิตสลายสิ่งไม่ดีลดโรค |
นาย | วีระยุทธ สังข์เมือง | |
นาง | นาง วิศน์ชญาพัชร์ ธรรมราช | ช่วยให้ได้ธรรมที่ถูกตรงสงบดูเบาใจคลายความกลัวกังวนใจและลดละกิเลสได้ตามลำดับ |
นาง | ดรุณี อินทนิล | การตั้งศีลจะทำให้มีฤทธิ์มาก โรคบรรเทา เรื่องร้ายเบาบาง |
นางสาว | ยวงคำ ไชยวุฒิ | เมตตา เกื้อกูล ช่วยเหลือ ปล่อยวาง |
นาง | สำรวม แก้วแกมจันทร์ | มีความยินดี พอใจในการฟังธรรมะ ที่อ.หมอสอน รู้จักกิเลส อัตตาตัวเองชัดขึ้น เร็วขึ้น |
นางสาว | วิภาวัลย์ ถนัดธรรมกุล | เลิกกลัว การที่จะฝึกหัดต่อกิจการงานหมู่กลุ่ม |
นาง | วสา ราญคำรัตน์ | ลดกลัวกังวลหวั่นไหว ลดโรคลดวิบากร้าย |
นางสาว | ประวีณา ปรัชญคุปต์ | แต่ก่อนเป็นคนที่ตกกังวลแต่พอฟังธรรมอาจารย์หมอเขียว ก็ สามารถจะ คลายกังวลและทำใจได้มากขึ้น ธรรมะที่ประทับใจได้แก่ ทำดีเรื่อยไปใจเย็นข้ามชาติ และถ้าเราทำดีไปเรื่อยๆ ถึงเราจะตายไปชาติหน้าก็เกิดมาทำดีอีก มีศรัทธาชัดเจนว่า ถ้าจิตใจเราดีซะอย่าง ถึงเป็นโรคก็หายได้ แต่ถ้าใจไม่ดี ก็เป็นโรคได้ ร่างกายไม่ใช่ของเรา เหมือนเรายืมใช้ชั่วคราว สักวันก็ต้องคืนไป แต่ก็มีหน้าที่ดูแลรักษาให้มากที่สุด เพื่อจะได้พัฒนาจิตใจให้ดียิ่งๆขึ้นไป |
นางสาว | ผาสุข ตันชวลิต | วิชาที่สำคัญที่สุดในชีวิต คือ วิชาดับทุกข์ และการดับทุกข์ที่แท้จริง คือการดับที่ต้นเหตุ ซึ่งก็คือ ตัณหา ความอยาก นั่นเอง |
นาง | สมใจ สิทธิพงษ์ | พ้นทุกข์ไปตามลำดับค่ะเป็นเรื่องเรื่องไปค่ะ เรื่องการแบ่งปันเงินทองสิ่งของที่มีให้กับผู้อื่น |
นางสาว | นิรมล ทองชอุ่ม | ได้เข้าใจในธรรมะมากยิ่งขึ้นว่าความอยากความยึดเหตุแห่งทุกข์เกิดจากความอยากถ้าเราหมดอยากก็จะทำให้หมดทุกข์ก็จะเพียรพยายามทำให้ได้มากยิ่งขึ้นคือพยายามลดละเลิก |
นางสาว | นิรมล ทองชะอม | คนที่อยู่ได้อย่างมีความสุขคือคนที่แก้ปัญหาได้ปัญหาคือความอยากคนที่อยู่ได้อย่างมีความสุขคือคนที่แก้ตัณหาได้คนที่หมดความอยากก็จะหมดทุกข์ในเมื่อหมดทุกทีเดียวไม่ได้ก็ให้ลดละเลิกให้รู้ว่าความอยากความยึดเป็นทุกที่ทุกที่สุดในโลก |
นางสาว | สำรวย รัตตนะ | กำจัดตัณหากล้าที่จะหมดอยาก คลายสุขลวงที่ได้สมใจอยาก ด้วยอริยสัจ4 |
นางสาว | สำรวย รัตตนะ | ชีวิตเต็มไปด้วยทุกข์ เดี๋ยวดี เดี๋ยวร้ายอย่าไปยึดมั่น ถือมั่นเกิดดับ เกิดดับ เกิดแล้วก็ยินดีรับ ยินดีให้หมดไปกลัาทุกข์ ทุกข์เท่าไหร่หมดเท่านั้น |
นางสาว | สุภารัตน์ จันโดน | นับ๑ที่เราเริ่มต้นที่เรา ทำความดีที่เรา นี้คือ..เส้นทางเพื่อการพึ่งตนและช่วยคนให้พ้นทุกข์ |
นาย | ธนวินท์ อินทนิล | ได้ความสุขในการฟังธรรม |
นาย | พลเอก อนันตร์ บุญรำไพ | ลงมือทำมากผลมาก ลงมือทำน้อยผลน้อย ฟังแล้วเกิดปัญญามากขึ้น |
นาง | ประคอง จันทร์ตรี | สว่างกระจ่างมองเห็นทางพ้นทุกข์ ผ่อนคลายจากความวิตก กังวล กลัวค่ะ |
นาง | ประคอง จันทร์ตรั | ทำให้ใจและกายคลายทุกข์ เลิกกลัว เลิกกังวลที่สะสมมานานโดยหาทางออกได้เป็นชั่วครู่แล้วก็กลับมา |
นางสาว | ยวงคำ ไชยวุฒิ | อริยศีล |
นาย | คมเวช หงส์เชิดชัย | เชื่อชัดเรื่องกรรม กล้าที่จะรับวิบากให้ผ่านไป ไม่ยึดมั่นว่าจะต้องได้รับสิ่งนั้น พร้อมว่างและพร้อมปรับเปลี่ยน |
นาย | คมเวช หงส์เชิดชัย | ยังอยู่ในภาวะดูแลอาการป่วยของตนเองทำให้เชื่อชัดเรื่องกรรมมากยิ่งขึ้น |
นางสาว | อังคณา ทิพย์ผลาผล | ยินดี พอใจ |
นางสาว | อังคณา ทิพย์ผลาผล | ใจเย็นลงไม่ลดการบ่นลูก ไม่ฆ่ามด |
นางสาว | วิภาวัลย์ ถนัดธรรมกุล | เชื่อชัดเรื่องกรรมมากยิ่งขึ้น ตั้งศีลบำเพ็ญวิบากร้ายเบาบางและบางเรื่องหายไปเอง ตั้งใจทำดีตลอดไป |
นางสาว | คมเวช หงส์เชิดชัย | มีใจไร้ทุกข์พราะได้บำเพ็ญแบ่งปันธรรมะพาพ้นทุกข์ทุกเช้า |
นาง | สุขสุมน นีระพันธุ์ | ยินดีให้ได้ในทุดสถาณการณ์ |
นางสาว | ป่านแก้ว ศรีไกรสิทธิ์ | ลด ละ เลิกการกินเนื่้อสัตว์ มาเป็นเวลา 30 กว่าปีแล้ว และ ไม่ติดในอบายมุข 6 ลดอัตรามานะเรื่องการกิน อาหาร น้อยมื้อลง เหลือ 1 มื้อถึง 2 มื้อ ลดการกินอาหารที่มีความเข้มข้นรสจัด |
นางสาว | สัสยา วาทยานนม์ | เจอเรื่องดี เจอเรื่องร้าย รับเท่าไหร่ หมดเท่านั้น เต็มใจรับ เต็มใจให้หมดไป ทุกอย่าง ทำเองมาแล้วทั้งนั้น |
นางสาว | นงนุช พาสนาโสภณ | |
นางสาว | วิมลวรรณ สินธุจริวัตร | ทำดีเรื่อยไปใจเย็นข้ามชาติ |
นาง | วสา ราญคำรัตน์ | ลดกลัวลดโรคลดเหตุแห่งทุข์ |
นาง | สุทิศา พรมชัยศรี | พูดคุยคลายความตึงเครียดอะไรจะเกิดก๋ต้องเกิด |
นาง | แน่งน้อย ใจดี | ทุกสิ่งทุกอย่างที่เราได้รับคือสิ่งที่เราทำมา เมื่อเกิดสิ่งดีขึ้น เป็นผลดีที่เราทำมา เมื่อก่อนสิ่งเลวร้ายขึ้น ก็คิดว่าดีแล้วที่เกิดสิ่งร้ายแค่นี้ ถ้าเราไม่ทำดี จะเกิดรุนแรงกว่านี้อีก |
นาย | นายประพันธ์ โพธิ์คำ เท่ ใจถึงศีล | ได้รับความรู้และสามารถละกิเลสได้อีกหลายอย่าง แม้จะไม่หมด ไม่เกลี้ยง ก็ตาม ก็สามารถเป็นแนวทางที่ท่านอาจารย์ได้นำทางใหเได้พบกับหนทางแห่งการ ลด ละ เลิก กิเลสเหตุแห่งทุกข์ได้เป็นลำดับๆ |
นางสาว | พวงเพ็ญ ทองเย็น | สุขเเบบกิเลส สุขแวบเดียวหมด ทุกข์ตลอดกาล |
นางสาว | สุคนธงศิลปบวรเลิศ | |
นางสาว | ภัทรพร เหล่าสะพาน | เข้าถึงความหมายของอริยะสัจสี่และหนทางการดับทุกข์กิเลสอาสวะรวมทั้งความหมายของพระไตรปิฏกเพื่อน้อมนำหลักธรรมเข้าสู่การดำเนินชีวิตด้วยคุณความดีและละเว้นจากการประพฤติชั่ว |
นาง | ดาวรุ่ง บัวแก้ว | ใจเย็นมากขึ้น ตามรู้เท่าทันกิเลสมากขึ้น |
นาง | อารีย์ อ่างบุญตา | รู้ชัดแจ้งสิ่งที่เพิ่มสุข พาชีวิตพ้นทุกข์ คืออริยศีล (มรรคมีองค์๘) |
นางสาว | สุภัคษา เต่าถมตา | เกิดอะไรขึ้นเราทำมารับแล้วก็หมดไป |
นางสาว | สุภัคษา เต่าถมตา | ทำใจใด้กับทุกเรื่องที่เกิดขึ้นทั้งเรื่องไม่ดี |
นางสาว | ฐฐภัท รังสีธรรม | ใจมีความสงบเย็นลงในเวลาที่มีสิ่งใดมากระทบได้เร็วขึ้น |
นางสาว | ดวงพร ฤทธิ์ถาวร | การลดทุกข์ ด้วยการลดความยาก กินของอร่อย ประโยชน์ที่ได้รับ เมื่อนำไปปฎิบัติแล้ว ร่างกายแข็งแรงคะ |
นางสาว | น.ส จรรญา ชุมจีด (สร้างกลิ่นศีล) | ไม่กลัวโลกคนกล้าเป็นโรคนั่นแหละหายโรค คิดกลัวโรคจะทุกข์มากขึ้นการก่อโรคที่รักษายากที่สุดในโลกคือการกลัวโลก กล้าก็ไม่ทุกข์ยินดีก็เป็นสุข ยิ่งกล้าก็ยิ่งดารุณโรคร้ายออกไปด้วย ถ้ากล้ากล้ามเนื้อจะกลายตัวเลือดลมไหลเวียนสะดวก แค่กล้าก็สามารถทำให้หายโรคได้ พลังก็กลับมาดันโรคร้ายออกไปด้วยความเครียดความกลัวก่อโรคร้ายได้ ความกล้าความยินดีทำให้หายโรคได้ ต้องกล้าที่จะไม่เกิดดีตามที่อยากให้ได้อย่าสร้างความกลัวความทุกข์ให้กับตัวเองให้กับผู้อื่น อานิสงส์ของความยินดี เวลาจามแต่ละครั้งก็ให้คิดว่าหายๆๆเวลาเจอโรคร้ายแต่ละครั้งให้คิดว่าหายๆๆถ้ากำจัดความอยากได้ปัญญาจะเร็วปฏิบัติปฏิบัติอริยสัจ 4 หมดอยากในทุกเรื่องให้ได้เลิกเรื่องชั่วให้ได้ก่อนแล้วทำเต็มที่แล้วไปชอบดี แล้วกล้าหมดอยากในดีนั้น ดูแลตัวเองได้แล้วก็เอาความรู้นั้นไปช่วยเหลือผู้อื่นโดยรวมพลังกับหมู่มิตรดีพลังความดีมีพลังที่สามารถสลายโรคได้ อยู่ในที่เดียวกันพลังความดีไม่เท่ากันจะดึงเอาพลังหายใจเข้าหายใจออกไม่เท่ากัน พอช่วยเหลือคนอื่นไปเรื่อยๆจะมีพลังความดีซ้อนกลับมาช่วยเรา ให้ได้รับสิ่งดี กิเลสตัณหาความอยากนั่นแหละที่เป็นพลังไปสร้างความกลัวพลังความกลัวไปสร้างวิบากร้าย เหตุการณ์ต่างๆที่ไม่ดีเกิดจากวิบากร้าย จงกล้ายินดีรับให้ได้ทั้งดีทั้งร้ายฝึกไปเรื่อยๆมันก็ดีไปเรื่อยๆ ทำดีเรื่อยๆใจเย็นข้ามชาติมันก็จะดีขึ้นเอง |
นาง | ดวงใจ ชวลิตธรรมโชติ | กล้าที่จะต่อสู้กับโรคที่เกิดขึ้นทั้งวันนี้และวันหน้า ได้รู้สัจธรรมที่ละเอียดมากขึ้นค่ะเช่น ไม่ยึดติดกับสิ่งที่เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไปค่ะ |
นาง | หนึ่งฤทัย,ไทรงาม | เข้าใจธรรมะและการใช้ชีวิตมากขึ้น |
นางสาว | ปภาดา จีนมะเริง (ซินดี้) | ได้ความรู้สภาวะธรรมได้รู้จักวิถีดับทุกข์ทางกายและใจดีมากค่ะ |
นาง | หนึ่งฤทัย,ไทรงาม | |
นางสาว | วิญญา จันทะพล | ได้ความรู้เพิ่มขึ้นทุกครั้งที่ฟัง แม้จะเป็นช่วงโยคะที่ซ้ำก็ยังได้ ความรู้เพิ่ม เช่นเรื่องความกล้าในการรับไม่ว่าจะเกิดดีหรือร้าย สามารถทำให้เราคลายใจในทุกข์เรื่องความเจ็บป่วยไปได้ |
นาง | ปาริชาติ จันทร์นวล | ในช่วงธรรมมะพาพ้นทุกข์ ได้ฟังบ้างไม่ได้ฟังบ้างเนื่องจากต้องทำภาระกิจงานบ้าน งานสวน ธรรมะพาพ้นทุกข์ที่อาจารย์บรรยาย เกิดสภาวะธรรมคือ เมื่อเกิดปัญหาในชีวิตก็คิดว่า สิ่งที่เราได้รับคือสิ่งที่เราทำมา ไม่มีสิ่งใดที่เราได้รับโดยที่เราไม่ทำมา แล้วปล่อยวาง |
นาง | เฟื่องฟ้า นภาคะเวช | ช่วยลดกิเลส ความคิดสุขุม ทำให้ใจเย็นลง |
นางสาว | กรวรรณ จันดาผล | บ่อยได้วางได้ออกจากทุกข์ได้ |
นาง | พิกุล วันจันทร์ | ต้องกล้าที่จะไม่ได้ตามที่อยาก |
นางสาว | น.ส ชรินรัตน์ ชุมจีด | การกำจัดความอยากและชอบให้เกิดสิ่งดีต่อตตนเองและผู้อื่น กำจัดความอยากจะทำให้เกิดปัญญา กล้าและยินดี เมื่อวิบากแทรก ต้องยินดีกล้าให้หมดอยากในสิ่งดีนั้นทันที ก่อโรคที่รักษายากที่สุด คือ การกลัวโรค คนส่วนใหญ่ กลัวโรค ไม่กล้าเป็นโรคยิ่งทุกข์ ชีวิตที่ไม่เบียดเบียนชีวิตใด มีแต่ทำประโยชน์แก่ชีวิตอื่น มีแต่ผาสุก โรคและเรื่องร้ายใดๆ หายไปหรือไม่ใจเราสุขก็ดีแล้วจากพฤติกรรมใหม่ ความดีเก่าและใหม่รวมกัน ช่วยดันวิบากรายเก่าออกไปได้ ใจไร้ทุกข์กล้ารับทุกอย่างที่เกิดขึ้นกล้ารับ สิ่งที่ดีร้าย ชีวิตจะผาสุข สานพลังกับสัตบุรุษหมู่มิตรดี ใช้วิบากการกระทำดีช่วยผู้อื่นจะเป็นพลังซ้อน ด้านร่างกายเหตุการณ์ก็เหมือนกันวิบากขอให้เกิดปัญหาต่างๆให้กับร่างกายแต่ละคนทำมาไม่เหมือนกัน ใครแก้ปัญหาร่างกายเป็นเรื่องอื่นเหมือนกันหมด เมื่อวิบากร้ายหมดวิบากดีส่งผลให้ได้รับยินดีและกล้ารับเรื่องร้ายนั้นกุศลออกฤทธิ์ดีจะออกเอง ทำดีเรื่อยไปใจเย็นข้ามชาติ สร้างวิบากดีช่วยเหลือผู้อื่นให้พ้นทุกข์ ทำสมดุลร้อนเย็นทำใจไร้ทุกข์ ปฏิบัติอริยสัจ 4 ให้ได้ตามที่อยากทำแต่สิ่งที่ดีไม่ทำชั่วชีวิตจะผาสุก ต้องพ้นทุกข์ใจทุกเรื่องให้ได้ทำสมดุลร่างกาย เหตุการณ์ ช่วยผู้อื่นทำดีเท่าที่ทำได้ จะเป็นวิบากดีซ้อนกลับมาส่งพลังดีมาให้เราชีวิตจะพ้นทุกข์ได้ทำลำดับ |
นาง | ณัชญ์ชาพัฒ วงศ์วิวิทย์ | การฟังธรรมะไปเรื่อยๆ บ่อยๆ ทำให้คิดขึ้นมาได้ว่าถ้าต้องการรักษาศีลให้ครบ เราต้องสำรวม ระวัง มีสติรู้ตัวอยู่เสมอ เพราะเราจะหลงคิด ทำผิดพลาดได้ตลอดเวลา ทั้งตั้งใจและไม่ตั้งใจ โดยที่จำไม่ได้อีกว่าทำอะไรผิดไป ทำให้ไม่มีโอกาสขอโทษ สำนึกผิด และอโหสิกรรมคะ |
นางสาว | ฐิตารีย์ ธนัทพงศภัทร์ | ฝึกฝนตัวเอง ทดสอบตัวเองตามคำสอนของอาจารย์ |
นาย | สมยศ ภัทรกุลโชติพร | รู้อริยสัจ ปฏิบัติตามศีล มีธรรมะ |
นาง | เกษร อินต๊ะปัญญา | ได้ฟังธรรมะ คนดีมีศีล มาพร้อมเพรียงกัน พึ่งตน ข่วยคนให้พ้นทุกข์ ทำให้จิตเบิกบานที่ได้อยู่ในกลุ่มหมู่มิตรดี |
นาย | มงคลชัย วิชาธรรม | วิบากร้ายที่เราได้รับ แสดงว่าสิ่งนั้นเราทำมา ยินดีรับวิบากนั้นก็หมดไป เมื่อคิดอย่างนี้เราก็คลายจากทุกข์ |
นางสาว | ว่าที่ร.ตหญิงอำนวยพร ดวงโสภา | อริยสัจ4 การปฎิบัติมีศีล ที่สำคัญให้ กล้ารับกับความผิดหสังที่เกิดขึ้นที่ไม่ได้ดังใจหรือไม่ได้ตามอยากให้กล้ารับ ยินดีในความการได้รับวิบากร้ายทำดีใจเย็นมีประโยชน์ที่ได้รับคือเปลี่ยนความกลัวเป็นความกล้าในการเผชิญกับภัยหรือโรคร้ายวิบากร้ายให้กล้ารับยินดี |
นาย | ไพฑูรย์ ทุมพันธ์ | มีใจที่สงบขึ้น |
นางสาว | จรัสพักตร์ จังหวะเพลง | เรากล้าคิดทุกข์ได้ เราควร กล้าคิดสุขได้ เบิกบาน |
นางสาว | ว่าที่ร.ต.หญิงอำนวยพร ดวงโสภา | การมีมิตรที่ดีเข้าร่วมกับคนดีเป็นสิ่งที่ดีที่จะมีประโยชน์ในการคิดดีทำดีนำเราไปสู่ที่ดีได้ความรู้ดีคำแนะนำที่ดีต่อเราชี้นำไปทางดีมีประโยชน์ดูแลเราเวลาหลงผิดหลงทางอะไรขั้นตอนที่ไม่รู้พี่เลี้ยงช่วยชี้แนะแนะนำให้เราเดินตามทางที่ถูกต้องมีประโยชน์ง |
นาง | อารีย์ อ่างบุญตา | เข้าใจหลักธรรมมากขั้น นำพาพ้นทุกข์ จ กาย และตะหนักถึงพลังของหมู่มิตรดีช่วยส่งเสริมให้ก้าวหน้าในธรรม |
นางสาว | รสริน สังข์เกื้อ | สิงที่ได้รับ ได้ฟังธรรมะแล้วทำให้ สบายจิตสบายใจ หายเครียดทำให้มีจิตใจเบิกบาน เมื่อร่างกายสบายใจแล้ว จะทำให้เรามีสุขภาพดีไปด้วย |
นางสาว | รัตนา หลวงจันทร์ | ธรรมะคือธรรมชาติ เราเกิดมาเพื่อเรียนรู้และอยู่กับธรรมชาติไม่ควรหลงไหลเสียเวลาไปกับกิเลสที่ถูกสมมุติและสร้างขึ้นมา ประโยชน์ที่ได้จากการฟังธรรมทำให้จิตใจผ่อนคลายเบาสบายไม่หลงไปกับกิเลส เกิด แก่ เจ็บ ป่วย ตาย เป็นเรื่องธรรมชาติ ไม่มีใครหนีพ้นได้ เราต้องรู้จักเรียนรู้ช่วยเหลือตัวเองให้มากที่สุดเช่นการเป็นหมอดูแลตัวเราเองและครอบครัวรวมถึงคนรอบข้างให้ได้มากที่สุด |
นาง | หน่อย นกจันทร์ | ทำให้ใจเย็นขึ้นและนึกถึงเหตุผลเป็นคนใจร้อนมากพอได้ฟังธรรมแล้วรู้สึกใจเย็นลงมากค่ะ |
นาย | อัฑฒ์ฐากร ประทีปฐานิศร์ | |
นางสาว | พรรณทิพย์ เทศน์สาลี | ได้มีความเข้าใจในขอปฏิบัติมากขึ้น มีความสุขที่ได้ฟัง สภาวะ นิ่งสบาย |
นาง | อัณชิษฐา ทิพแสง | จิตใจดีขึ้นสงบลงเยอะ |
นาง | นางโสภา หนำคอก | ลด ความวิตกกังวล หวั่นไหว ไม่กลัวตาย ไม่ กลัวโรค จิตใจเบิกบานแจ่มใส |
นางสาว | มณีวรรณ์ ดีวงษ์ | อริยสัจจ์ 4 หลักปฏิบัติในการดำเนินชีวิต นำไปประยุกต์ใช้แก้ปัญหา |
นางสาว | ณัฐธยาน์เอ้อจำนงค์ | กินอาหารเป็นยาลดโรคลดยาลดค่าใช้จ่ายลดทุกข์ในบททบทวนธรรมบทที่48นี้เป็นจริง |
นางสาว | ว่าที่ร.ต.หญิงอำนวยพร ดวงโสภา | ได้การใช้อริยสัจสี่ อริยศีล ในการดำรงชีวิตได้พลังความรู้ที่อาจารย์แนะนำบอกเปลี่ยนจากกลัวเป็นกล้าคำนี้คำเดียวเข้าใจปฏิบัติได้ทันทีที่แนะบอกกล้ารับ ยินดีรับวิบากร้าย ให้หมดไปเข้าใจปิ๊งทันทีค่ะคิดได้ทำได้ทันที่ค่ะ |
นางสาว | อังคณา ทิพย์ผลาผล | ไม่ขี้โมโห ใจเย็น เอาแต่ใจน้อยลง |
นางสาว | วิลาวัลย์ โพธิปัญญธนา | เป็นโรคกรดไหลย้อน..พอได้รับฟังสภาวธรรมทำให้ยอมรับในสิ่งที่เป็น..และได้ปรับปรุงตัวเองในการใช้ชีวิตแบบระมัดระวังได้ดีขึ้น..ต้องขอบคุณอาจารย์หมอเขียวและจิตอาสาทุกๆท่านที่ทำให้เข้าถึงสภาวธรรมถึงแม้จะยังไม่มากแต่ก็จะพยายามทำต่อไปค่ะ |
นางสาว | อังคณา ทิพย์ผลาผล | เห็นตะขาบตัวใหญ่มากแกติแล้วจะต้องหาไม้มาตีแต่ตอนนี้ไม่ตีปล่อเค้าไปทางใครทางมัน |
นาง | นบชุลี เสาวนา | ขณะรับฟังได้พิจารณาสิ่งที่ผ่านมาในชีวิต จะสำนึกผิด ขอรับผิด ขออโหสิกรรมในสิ่งที่เราได้เคยทำชั่วมา ก็รู้สึกสบายใจขึ้น ทำให้ใจไร้ทุกข์ |
นางสาว | ประภาพรรณ โอษฐ์ยิ้มพราย | ได้นำหลักการเรียนรู้สมดุลร้อนเย็นมาใช้ดูแลตัวเอง ได้ตั้งศีลลดกิเลส ได้เรียนรู้ผัสสะทึ่มากระทบและได้ฝึกใจ ทำใจ ยินดีกับสิ่งที่ได้รับ ได้รู้สภาวะธรรมของตัวเองว่าเป็นอย่างไรแล้วเราควรจะทำอย่างไร มีความกล้าในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามที่ได้เรียนรู้ที่อาจารย์ได้สอนไว้ ได้รับประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นด้วยความยินดี และได้แก้ไขตัวเองให้ไม่ยึดมั่นถือมั่นในเรื่องนั้นๆแต่ละเรื่อง ได้ตามลำดับ และได้ใช้ บททบทวนธรรมนำมาอ่านทบทวนเสมอเพิ่มความเข้าใจและเพิ่มปัญญาให้มากขึ้น |
นางสาว | ประทุมทิพย์ ไชยชิตร | การวางใจในตอนทำงานในสวนกับเพื่อน ไปตัดหญ้ากับเพื่อนในสวนปาล์ม ตัดๆไปเครื่องตัดหญ้าดับ แล้วสตาร์ทไม่ติด เพื่อนเกิดอาการหงุดหงิด อยากตัดหญ้าอีก เพราะอากาศกำลังดี เพื่อนก็บ่นไปเรื่อยว่าทำไมอยู่ดีๆก็ดับ แล้วก็สตาร์ทไม่ติดอีกเลย เราก็กำลังฟังธรรมะพาพ้นทุกข์อยู่ในซูมตอนนั้น ฟังไปทำงานไปด้วย ก็เดินไปช่วย สตาร์ทไปรอบแรกประมาณ 10 ครั้ง ไม่ติด ก็หยุดพักเริ่มสตาร์ทใหม่รอบที่สอง ขณะสตาร์ทไปก็สังเกตใจตัวเองว่าตัวเองรู้สึกอย่างไร ใจก็ไม่หวั่นไหว ไม่หงุดหงิด ไม่รำคาญ สตาร์ทรอบสองประมาณ 10ครั้ง ไม่ติดอีก หยุดพัก เพื่อนก็บ่นไปเรื่อย เราพักหายเหนื่อย สตาร์ทอีกรอบที่สาม รอบนี้สตาร์ทครั้งเดียวติดเลยค่ะ สังเกตอาการตัวเองคือดีใจมากหัวเราะกันเสียงดังเลยทีเดียว ผลของการวางใจว่าสตาร์ทติดก็ได้ ไม่ติดก็ได้ ถ้าสตาร์ทติดก็ทำงานต่อ ถ้าสตาร์ทไม่ติดก็ได้ ได้กลับบ้านไปพักอล้วค่อยทำต่อพรุ่งนี้ การเราวางใจแบบนี้ในช่วงที่แก้ปัญหาเราก็ไม่ได้หงุดหงิด รำคาญ ผาสุก แม้มีปัญหาแต่ใจก็ไม่หวั่นไหว ผลที่ได้รับคือสำเร็จอีก ยิ่งผาสุก |
นาง | เพ็ญศรี อิทธิมา | ทำให้ลดกิเลสตัวเองลงไปได้มาก |
นาง | วงศ์สกุล รัตนานิคม | ทำให้จิตใจดีขึ้น มีสติ และปัญญาคิดที่ได้ว่าสิ่งที่เกิดขึ้นและผลที่ได้รับเป็นเพราะเหตุอะไรแล้วทำให้เรายอมรับสิ่งที่เกิดขึ้นค่ะ |
นาง | ประคอง เก็บนาค | สุขที่ได้จากการสมใจอยาก คือ ทุกข์จริง |
นางสาว | อรรถ์ธัชศร พิมพ์ศรี | มั่นคงในศีลมากขึ้น เมตตามากขึ้น |
นาย | วัฒนา สบายยิ่ง | |
นางสาว | อุษา บุตรพรม | |
นาง | วิศน์ชญาพัชร์ ธรรมราช | ลดความทุกข์ความอยากได้มากขึ้นสงบใจไม่ดิ้นรนเอาอะไรมากมายกินอยู่ง่ายๆ |
นาง | เวียงทอง นุ่นภักดี | วันนี้ในใจมัความกังวลเกี่ยวผลเลือดที่ออกมาแต่พอเรากังวลเกิดคความทุกข์ขึ้นใจไมสบายใจพอเราอ่านใจเราว่ามันอยากได้อะไรกิเลสมันหลอกให้กลัวมันอยากไดผลเลือดที่ดีเราก็ตรวจดูว่าตอนนี้เราเบากายสบายไหมถ้าเราเบากายสบายมีกำลังอยู่ก็ไม่ต้องไปกังวลผลเลือดผลดลือดจะดีหรือไม่ดีก็ได้เรายินดีรับ ยินดีให้ร้านเกิด ดีใจจังร้ายหมดอีกแล้วเราจะโชคดีขึ้นเราได้ใช้หนี้สิบ่กแล้วเราจะโชคดีขึ้นรับเท่าไหร่หมดเท่านั้น สามารถอ่านตัวเองได้ว่ามันทุกข์เพราะอะไรแล้วพิจารณาชี้แจงจนมารมันยอมถอยเราก็สบายใจขึ้น |
นางสาว | อุไร คงแก้ว | เริ่มเข้าใจจุลศีลบ้างแล้วค่ะ |
นาง | ดอกไม้ ปวะบุตร | วิบากเกิดจากการกระทำของเราเองไม่มีใครสามารถทำให้เราทุกข์ได้นอกจากตัวเราเองทั้งในอดีดและปัจจุบัน เราต้องยินดีรับและเต็มใจรับ ขอโทษขออโหสิกรรมและตั้งศีลไม่ทำให้ตนเอง คนอื่น สัตว์อื่นได้รับความเดือดร้อนอีก ประโยขน์ที่ได้รับ จากการไม่ทานเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ของสัตว์ทำให้ร่างกายเบาสบาย จิตใจชุ่มเย็น แม้โกรธก็ไม่นาน ใจเย็น ขึ้น |
นาง | สีสรรพ์ | การคบมิตรที่ดีช่วยให้เราพ้นทุกข์ได้ |
นาง | อรษา ชูเรืองสุข | |
นาย | เมธา ว่องวิวัฒน์ไวทยะ | เชื่อและชัดในเรื่องของกรรม ยอมรับในทุกเหตุการณ์ที่ผ่านเข้ามาในชีวิตด้วยความยินดี |
นาย | เอกศิริ ตันติศรีไกรแสง | เสีย หาย ไปหมดแล้ว หมายความว่า วิบากร้ายที่ทำให้เสียนั้นได้หมดสิ้นคือหายไปหมดแล้ว |
นางสาว | พุธพรรณ ศรีธรรมูปถัมภ์ | เพิ่มศิล ละกิเลสให้ได้ ยิ่งให้ยิ่งได้มา รวมกลุ่มกับหมู่มิตรจะแต่เจริญ ยิ่งๆ ขึ้นไป ประโยชน์ที่ได้รับ คือ ความผาสุก ไร้ทุกข์ ปฏิบัติขั้นต่อไป เป็นลำดับ ยิ่งๆ ขึ้นไป สู่นิพพาน |
นาง | คมขำ ชูตินันทน์ | ใจไร้ทุกข์ ไม่กังวล ลดโรค |
นาง | บุษกร วรรธนะภูติ | กล้าที่จะไม่ได้ตามที่อยาก |
นางสาว | กมลชนก เช้าเที่ยง | ฟังและนำมาปัญติบัตในชีวิตและแก้ไขปัญหาได้ |
นาง | สมใจ สิทธิพงษ์ | เข้าใจตัวเอง และคนลิบข้างมากขึ้น ว่าทุกคนเกิดมามีวิบากดีร้ายเท่านั้นที่ส่งผลให้ใครจะได้รับดี ร้ายตอนไหนเท่าที่เราทำมาเท่านั้น |
นาง | จิราภรณ์ ทองคู่ | ยินให้ได้ทุกเรื่อง กล้ารับทุกเรื่อง กล้ารับกล้าให้หมดไป เมื่อเรายินดี เมื่อเรากล้าจิตใจก็ผาสุก |
นาง | ธมกร พลสุวรรณ | รู้จักกิเลสมากขึ้น ประโยชน์ที่ได้รับคือ วิธีการดับกิเลสค่ะ |
นาง | เวียงทอง นุ่นภักดี | คนเรามีการทำชั่วทำดีมาทั้งหมดมีอวิชชา ตัณหาราคะ มีความอยาก ทำชั่วมาเพื่อตอบสนองความอยากมีอยากเป็นอยากได้เหนี่ยวนำให้คนอื่นทำตาม จนทุกข์หนักและหนักมากจนไม่สามารถทำชั่วได้อีกหันมาทำดีแต่ถ้าไม่ล้างกิเลสก็เวียนกลับมาทำชั่วอีกทุกข์อีกแสนสาหัสวนเวียนอยู่อย่านี้เป็นวัฏจักรสงสาร พอมามองดูตัวเองที่กำลังล้างกิเลสตัวชอบตัวหลงผิดกินอาหารที่มีพิษบ้างกินเนื้อสัตว์บ้างเราตั้งศีลไม่กินเนื้อสัตว์ไม้กินขนมที่มีพิษเราทำได้บ้างไม่ได้บ้างวนเวียนอยู่อย่างนี้เหมือนวนอยู่กับที่เราจะไม่สามารถออกจากกองทุกข์ได้เลยถ้าเราไม่เด็ดเดี่ยวไม่สู้กับกิเลสอย่างมีปัญญาดังนั้นเราต้องล้างกิเลสที่เราล้างได้ก่อนโดยไม่ลำบากเกินำม่ฝืดฝืนเกินเป็นอย่างๆไปถ้าทำทีละหลายอย่างสู้กิเลสไม่ไหวกิเลสมันจะเตะเอาประโยชน์ที่ได้รับจากการฟังธรรมคือรู้วิธีอ่านใจตัวเองอ่านกิเลสแล้วพิจารณาฆ่ากิเลสไปมันมาอีกก็พิจารณาอีกจนมันสลายไปทำให้ใจไร้ทุกข์ |
นาย | มงคลวัฒน์ รัตนชล | เมื่อเจอเรื่องร้าย ให้รียตรวจศีลเราพร่องพลาดอะไรรีบสำนึกผิดขอรับโทษขอแก้ไขกล้ารับกล้าให้หมดไปไม่โทษใครแต่ขอบคุณที่มาเตือนแล้วช่วยให้เราได้ใช้วิบาก |
นาย | สุมิตชัย ศรีจันดี | สภาวะธรรม ศีล5ที่ละเอียดขึ้น การไม่ทานเนื้อสัตว์นัยยะลึกๆในด้านต่างๆเข้าใจมากยิ่งขึ้นประโยชน์ที่ได้รับมีความเข้าใจเรื่องการไม่กินเนื้อสัตว์ที่ชัดเจน นำมาปฏิบัติได้ถูกตรงด้วยความเต็มใจไม่ใช่ความกดข่ม และจะใช้ความรู้นี้เผยแพร่ให้ผู้อื่นได้รับรู้เมื่อมีโอกาส |
นางสาว | ปาวิดา ทองธวัฒน์ | อริยศีล งดเว้นการเบียดเบียนตนเอง คนอื่น สัตว์อื่น ตอนนี้สามารถลดทานเนื้อสัตว์ลงได้แล้ว 70% และ ปรุงรสอาหารโดยใช้เกลือเป็นหลัก รู้สึกแข็งแรงขึ้น ไม่เหนื่อยง่าย และมีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้นคะ |
นางสาว | ประทุมทิพย์ ไชยชิตร | |
นางสาว | นัฏฐา พิมาพันธุ์ศรี | อยากเป็นทุกข์ ไม่อยากไม่ทุกข์ |
นางสาว | จาริณ กวีวิวิธชัย | มีปีติ |
นาง | วสา ราญคำรัตน์ | ทำให้ลดความวิตกกังวลกับเหตุการณ์ต่างที่เกิดขึ้น |
นางสาว | ดวงพร ฤทธิ์ถาวร | เข้าใจสภาวะธรรมของตนเอง สามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน และบุคคลรอบตัว |
นางสาว | นฤมล วงศา | พบความสุข ความสงบมากขึ้นกว่าอดีต ที่อ่อนไหวไปตามสถานการณ์ การเข้าฟังจะเกิดพลังและจิตใจที่สงบขึ้น เพราะที่ผ่านมาถูกกิเลสเอาพลังไปเยอะ |
นาง | สุนันท์ พานิช | เกินพผัดสะบ้างค่ะ ต้องฟัปรระกิดประโยชน์ในชีวตงธรรมบ่อยๆจะเกิดประโยชน์ใช้ในชิวิ |
นางสาว | นภัสส์นัญท์ มาตย์คำมี | 12 ตุลาคม 2564 สภาวะธรรม ลดกิเลสตน ที่ปฎิบัต ได้ คือ ( 1.)ทานอาหารมื้อเดียว ได้แล้ว ( 2.)เลิกการติดกินน้ำแข็ง ติดมามากกว่า 10 ปี (3.) ทำน้ำสมุนไพรสด และ ทำน้ำสกัดสมุนไพรฤทธิ์เย็น น้ำมันเขียว แบ่งปัน หมู่มิตรดี และ ท่าน ผอ.กศน.อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม |
นางสาว | สัสยา วาทยานนท์ | ติดใจเราสบายแก้ปัญหาความทุกข์ใจคิดอะไรไม่ออก ก็ไม่ วุ่นวายใจ ทำขณะนี้ให้ดีที่สุด |
นางสาว | ผาสุข ตันชวลิต | ทำจิตใจให้ผ่องใส |
นางสาว | ระวีวรรณวงค์กะวัน | เข้าใจชีวิตว่าสังคมจะอยู่รอด เพราะความช่วยเหลือเกื้อกูลของเพื่อนมนุษย์ |
นาง | ณัชวรรณ ศรีเพชรส่องแสง | ล้างชำระกิเลส มารพยายาท |
นาง | พิกุล วันจันทร์ | |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | เรียนรู้ถึงเบื้องลึกของการรักษาศีล ความหมายของจุลศีลในข้อต่างๆที่อาจารย์ได้บรรยาย |
นาง | นบชุลี เสาวนา | ได้รับประโยชน์ในการรับฟังมาก นำมาพิจารณาในสิ่งที่ผ่านมาในชีวิต สำนึกผิด ขอรับผิด ขอรับโทษเต็มใจรับโทษ ขออโหสิกรรม ทำให้รู้สึกเบิกบานใจ แจ่มใส |
นาง | อรวิภา กริฟฟิธส์ | ทุกข์ที่ทุกข์ที่สุดในโลก คือ ความได้สมใจอยาก สุขที่สุขที่สุดในโลกคือสุขที่ไม่ได้สมใจอยาก กล้าที่จะไม่ได้สมใจอยาก แต่ก่อนเราคิดว่าต้องได้สมใจอยากจึงจะมีความสุขแต่พอได้ธรรมะที่ถูกตรงแล้วพบว่า เราถูกกิเลสหลอกความจริงแล้วมันมีแต่ทุกข์ทุกข์ตั้งแต่อยากแล้ว กลัวจะไม่ได้มา ได้มาก็กลัวว่าจะหมดไป ทำให้มีแต่ความกลัวกังวลหวั่นไหว พอมีความกลัวหวั่นไหวก็ทำให้เป็นโรคได้ทุกโรค เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น แต่กลับกันกับบุคคลผู้มีความกล้าที่จะไม่ได้ตามที่อยากก็สุขได้ก็ไม่เดือดร้อนเบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เป็นสุขได้ทั้งได้และไม่ได้ตามอยาก |
นางสาว | คุณทิพย์ วงษ์สุวรรณ | ยินดีที่ได้ใช้เวรใช้กรรมจากการไม่มีสมาธิฟังอาจารย์ รู้สึกเสียใจที่ฟังอาจารย์แล้วจับประเด็นอะไรไม่ได้เลย เกิดคำถามว่าทำไมจึงไม่มีสมาธิฟังอาจารย์ทั้งที่เมื่อก่อนฟังเข้าใจมาก คำตอบคือทำมา เคยว่าผูู้อื่นมาเยอะ ตอนนี้สำนึกผิด ยอมรับผิด ขอโทษ ขออโหสิกรรมทั้งที่จำได้และจำไม่ได้ และจะตั้งใจทำดีล้างกิเลสช่วยเหลือผู้อื่นต่อไป |
นาง | จารุวรรณ โกมลกุญชร | เรื่องความกล้า กล้าที่รับความเจ็บป่วยที่ยังมีอยู่ให้ได้ กบ้าที่จะนรับ รับแล้วร้ายก้อจะหมดไปวางใจได้ ใจก้อผาสุกขึ้นทำใจเราเองด้วยการลดกิเลส และเพิ่มศีลไปเรื่อยๆ ใจก้อคลายลง |
นางสาว | วันเพ็ญ ตั้งสกุลวงศ์ | กำจัดกิเลสมารความอยากให้ได้ วิบากดี คือสิ่งดีๆและกัลยาณมิตร จะเข้ามาเรื่อยๆ วิบากเก่า ที่เข้ามา ก็เข้ามาได้น้อย พลังความดีนี้จะดันวิบากร้าย ออกไปเรื่อยๆ |
นางสาว | สุวภัทร ชุ่มชัยยา | เชื่อในกรรมและผลของกรรม |
นาง | ศิริพร ขาวไชยมหา | จากการที่ได้ฟังธรรมมะ แล้วป้ามีควไม่โกรธ กลับสงสารเขามากกว่า ปล่อยให้เขาทำตามเขาเมื่อเขาเห็นทุกข์เขาก็จะรู้เองารูสึกว่าการใช้ชีวิตของเราเปลี่ยนไปมาก เช่น การที่เราเคยสอนคนอื่นแล้วเขาไม่ทำตามเรา ถ้าเป็นเมื่อก่อนเราจะโกรธ และไม่อยากไปยุ่งด้วย แต่พอได้ฟังธรรมแล้ว |
นาง | ศิริพร ขาวไชยมหา | ทำจิตใจ ให้เบิกบาน เบิกบาน และเบิกบานในธรรมเสมอ |
นางสาว | ลำพึง ก๋งจิ๋ว | ทำลายความอยากให้ได้ หยุด อยาก อย่าเอาแต่ใจตัวเอง อย่าเล่นมากเกินควร เดี๋ยวจะทะเลาะกันเอง มันเป็นวิบากร้าย เล่นไปเล่นมาเดี๋ยวก็ขัดใจกันไม่พอใจ กันเกิดเกิดความโกรธ โมโหรำคาญไม่ได้ดั่งใจ มันเข้าเกรีย์ยุคแล้ว คนจะทำร้ายกันได้ ง่าย ส่งพระสงฆ์ ส่วนมากจะไม่ปฏิบัติดี เนื้อสัตว์กินไม่ได้ เขาตายอย่างทรมาน เขามีความระแวงหวั่นไหวดิ้นรนตะเกียกตะกาย เขากลัวตาย พระสงฆ์หลายๆองค์ ก็ยังพูดอยู่ว่าเนื้อสัตว์กินได้ มีประโยชน์ |
นาง | อัญชลี โสภา | ไม่กล่าวโทษผู้อื่น ทุกอย่างที่เราได้รับไม่ใช่เรื่องบังเอินล้วนแล้วแต่เราทำมาหาที่ต้นที่สุดไม่ได้ สามารถทำใจได้รับได้เจอแล้วก็หมดไปปล่อยวางได้ ไม่ยึดติด |
นาง | วิไลวรรณ ชุมทอง | ลดละเลิกการกินเนื้อสัตว์รวมทั้งไข่ |
นางสาว | วลัยพักตร์. ชุมทอง | |
นางสาว | กันธิดากุลวัชร์ | ทำให้ลดละความกังวล |
นาง | ณัฐพร คงประเสริฐ | วิธีแก้ปัญหาทุกปัญหาในโลก คือ ลดกิเลส เหตุแห่งทุกข์ทั้งปวง ลดกิเลส ลดทุกปัญหา เพิ่มกิเลส เพิ่มทุกปัญหา วิธีแก้ปัญหาง่ายนิดเดียว อันไหนแก้ได้ก็แก้ แก้ไม่ได้ก็ไม่ต้องแก้ |
นาง | จำปา ลัคณาสถิตย์ | ทำดีเรื่อยไปใจเย็นข้ามชาติไม่ว่าจะเกิดอะไรจะท่องประจำ ฉันทำมาฉันมันแสบสุดๆ |
นาง | เกษร อินต๊ะปัญญา | ฟังธรรมะจากท่านอาจารย์ หมอเขียว ประจำเท่าที่มี เวลา ฟังแล้วทำให้การ เกิดทุกข์ การดับทุกข์ ได้ด้วยอริยสัจ4 หนทางในการดับทุกข์ใจทุกข์กาย เรียนการผ่าตัดกิเลสของตัวเอง ตอนนี้ ตั้งศีลที่จะลดละเลิกการทานเนื้อสัตว์ ได้ปฏิบัติ มาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่เริ่มเข้าค่ายพระไตรปิฏก ค่ะ และ จะค่อยๆลดละเลิกกิเลสอื่น ตามลำดับ ประโยชน์ที่ได้รับจากการฟังธรรม ปรับปรุงเรื่องอารมย์ของตนเอง จากคนชอบทำงานแบบทุ่มเท มุ่งมั่นเกินไป อัตตาในตัวเอง เชื่อมั่นในตัวเองสูง จริงจังเกินไป ปรับเปลี่ยน เป็นคนที่ใจเย็นลงมาก ยอมรับฟังผู้อื่น ทำงานก็ลดเวบาปรับเวลาให้พอดี ไม่หักโหมเกินไป รู้เพียร รู้พัก รู้จักการรอไม่รีบร้อน เป็นกุศลดีที่ได้ฟังธรรม อ่านบททบทวนธรรม เมื่อเกิดเรื่องทุกข์ใจ ช่วยให้คลายทุกข์ เกิดปัญญา แก้เรื่องร้ายที่พบเจอในแต่ละวัน ได้ด้วยความเบิกบานใจ ค่ะ |
นาย | สุภาพ พงศ์สุวรรณ | ลดความโกรธ ความกังวนได้ระดับหนึ่งครับ |
นาง | ดรุณี อินทนิล | สิ่งที่เราได้รับคือสิ่งที่เราทำมา ไม่มีใครทำร้ายเราได้ นอกจาก การกระทำของเราเอง กล้าทำกล้ารับ รับแล้วก็หมดไป เราแสบสุดๆ ก็ต้องรับไปสุดๆแล้วจะโชคดีขึ้น ลดการบริโภคสัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ ไปตลาดไม่ซื้อเนื้อสัตว์มาทำอาหารแล้ว |
นาง | ยุพิน หมายชื่น | ชัดเจนในคำบรรยาย จากที่ประสบการณ์ที่ตัวเราเองได้พบมาในชีวิตหลากหลายแง่มุมต่างๆ สามารถนำมาวิเคราะห์เหตุและผลที่เกิดขึ้นทั้งผลลบและผลบวกได้อย่างต่อเนื่องด้วยเหตุต้นผลกรรม ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการเปลี่ยนแปลงตัวเองให้เป็นสุขได้ง่ายขึ้นในชีวิตประจำวันในอีกระดับหนึ่ง |
นางสาว | ว่าที่ร.ต.หญิงอำนวยพร ดวงโสภา | ท่านอาจารย์ดร.หมอเขียวและคณะจิตอาสาทุกท่านเป็นมิตรที่ดีแนะนำสิ่งดีดีให้ช่วยเหลือสนับสนุนมห้โอกาสได้เรียนรู้ในสิ่งที่ยากแก่การเข้าใจท่านอาจารย์สอนดีอธิบายเข้าใจง่ายขอกราบขอบคุณค่ะ |
นางสาว | ณฐมน วงค์ภักดี | เข้าใจชัดคำที่อาจารยพูดว่า "เสียหาย" เมื่อเราได้รับวิบากร้าย เรื่องร้าย ๆ นั่นคือ เมื่อได้รับวิบากร้ายก็หายไป วิบากร้ายหมดไป 1 เรื่อง เราทำมามาก ค่อย ๆ ชดใช้ ชดใช้แล้วก็หายไป |
นางสาว | ไพเราะ ปั้นศิริ | ท่านอาจารย์ สอนให้มีศีล ชำระกิเลส ช่วยเหลือผู้อื่น ครบมิตรดีทำสมดุลร้อนเย็น ก็ได้เอามาปฎิบัติตาม โดยการตั้งศีลมาปฏิบัติและลดกิเลส ทำแล้วก็เกิผล ทำให้สุขกายสบายใจเป็นอยู่ผาสุข |
นาง | เวียงทอง นุ่นภักดี | พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่าวิธีหายโรคได้คือสัญญา 10 ประการและหนึ่งในนั้นที่จำได้คือ อาทีนวสัญญา ความหมายรู้ให้ได้ว่าสิ่งไหนเป็นโทษให้ละ มาทำสิ่งที่เป็นประโยชน์ สาเหตุของการเกิดโรค ในอาพาธสูตร พ.ตรัสว่าเป็นเพราะร่างกายเราเสียสมดุลร้อนเย็น วิบากร้ายจะไปจับกับสมดุลร้อนเย็นในร่างกายก่อให้เกิดโรคต่างๆและภัยที่ทำให้มีวิบากร้ายคือการผิดศีลคือความกลัวกังวล คือกิเลสทำให้ทุกข์ใจเมื่อคิดและทำตามกิเลสจะทำให้ทุกข์ร่างกายก็จะเกิดการเกร็งตัวดันความทุกข์ความไม่สบายใจออกทำใหเซลล์เสียรูปร่างเสียหน้าที่ทำให้ไม่สบายเราแก้ได้โดย กำจัดกิเลสเหตุแห่งทุกข์ รักษาศีล ดับทุกข์ใจโดยใช้อริยสัจ4ประโยชน์ที่ได้รับทำใหเราดับความอยากตามกิเลสได้ ลดละเลิกสิ่งที่เป็นภัยกับชีวิตตัวเราได้เป็นลำดับ |
นางสาว | อังคณา ทิพย์ผลาผล | ความสุข ไม่เคยฟังธรรมที่ไหนสนุกและนานได้ขนาดนี้มาก่อนเลยค่ะ |
นาย | 3 พูลศักดิ์ โสภาวัฒนะโรจน์ | มีสติในการใช้ชีวิตประจำวัน |
นาย | สมศักดิ์ แดงอ่อน | ได้พบ ได้ฟังธรรม อันเลิศในหลากหลายแง่มุม ทำความรู้ความเข้าใจเพิ่มทวีชีวิตที่รู้จักพอ คือชีวิตที่ดีที่สุด ประโยชเน์ได้เพิ่มความรู้ความเข้าใจในพระธรรมคำสอนละเอียดยิ่งขึ้น ทำให้จิตเบิกบานผ่องใสส่งผลให้มีความก้าวหน้า |
นาง | สิริกาญจน์ ธรรมมา | จากการฟังธรรมของท่านอาจารย์หมอเขียว ที่เน้นย้ำตลอดเวลา ทำให้เราทำใจกล้ารับในสิ่งที่เป็น ยอมรับสิ่งที่เกิดขึ้น ประโยชน์ที่ได้รับจากการฟังธรรม ทำให้เรา ไม่อยากทานเนื้อสัตว์ ไม่อยากเบียดเบียนสัตว์ |
นาง | ทัศนีย์ จันทา | ได้ฝึกลดกิเลสรู้จักการพึ่งตนมากขึ้น |
นางสาว | ลดาวรรณ เสรีเสถียร | ปัญหาทุกอย่างที่เกิดต้องเริ่มแก้ที่เรา |
นางสาว | วิญญา จันทะพล | เนื่องด้วยวันนี้เป็นวันครบรอบสวรรคตของพ่อหลวง ร.๙ ตนเองเกิดสภาวะธรรมขึ้น และเกี่ยวเนื่องกับบททบทวนธรรม ข้อที่ 10 ที่ว่า"เมื่อเกิดสิ่งเลวร้ายกับเราไม่มีอะไรบังเอิญ ทุกอย่างยุติธรรมเสมอ เพราะเราเคยทำเช่นนั้นมามากกว่านั้น เมื่อรับแล้วก็หมดไป เราก็จะโชคดีขึ้น" ที่เกี่ยวเนื่องกับพระองค์ท่านคือ เรื่องไม่มีอะไรบังเอิญ เมื่อช่วงการชุมนุมพันธมิตร ปี51 เราได้ไปร่วมชุมนุมด้วย เพราะเหตุว่ามีการให้ข้อมูลผิดๆเกี่ยวกับพระองค์ท่าน ว่าร้ายพระองค์ท่าน จากการเข้าร่วมชุมนุมก็ได้ทำให้รู้จักพ่อท่านโพธิรักษ์และชาวอโศก ได้เข้าร่วมชุมนุมกับชาวอโศกเรื่อยมา จนปี 53 ได้เจอบู๊ทของพวธ.ที่จัดอยู่ในที่ชุมนุม เข้าไปสอบถามได้ข้อมูล สนใจมากดีจังเลย ได้ไปเข้าค่ายครั้งแรกที่ศาลาธรรมแบบไปกลับ ขณะนั้นไม่ได้เป็นอะไรมีแค่ภูมิแพ้อากาศที่เป็นมาตั้งแต่เด็กๆ จุดประสงค์คือเอามาใช้ดูแลแม่(พ่อเสียแล้ว) ชีวิตที่ผ่านมาใช้ชีวิต กิน สูบ ดื่ม เสพ มาตลอดตั้งแต่สมัยเรียน และสังคมที่ใช้ชีวิตอยู่ก็เป็นอย่างนั้น หลังจากนั้นก็ได้ไปค่ายที่ดอนตาล อีกหลายครั้ง บางทีก็พาแม่กับพี่ไป ไปค่ายดอนตาลครั้งแรกก็เลิกสูบบุหรี่ได้ ลดละเนื้อสัตว์ได้ โรคภูมิแพ้ก็หายไป ปัจจุบันก็ไม่มีมาเยือน มีความรู้มากมายในการดูแลตัวเองและผู้อื่น เลิกกินยาเคมี ในช่วงนั้นอธิฐานขอเป็นศิษย์อ.หมอเขียวและสมัครเรียนวิชชาราม นึกถึงพระคุณพ่อหลวงเสมอ ถ้าไม่ใช่เพราะพระองค์ท่าน เราคงไม่ได้เจอศาสตร์ดีๆแบบนี้ แต่ด้วยวิบากเรา เพราะเราทำมามากกว่านั้น ขออนุญาติเล่าสภาวะต่อในคราวถัดไปนะคะ สาธุ |
นางสาว | อัญชลี พุ่มแย้ม | นำมาใช้ในการลด ละเลิกในการเบียดเบียน ตัวเอง คนอื่น สัตว์ทั้งหลาย |
นาง | พรรณธิพา แย้มบัว | ลดการยึดให้ได้อย่างใจเราลงได้เพราะทุกสิ่งที่เราได้รับคือสิ่งทำมาทั้งสิ้นทั้งในอตีดและปัจจุบันกล้ารับกล้าทุกข์และกล้าที่จะเผจิญทุกอย่างประโยชน์คือมีใจเบิกบานเบาสบายและผาสุข |
นาง | เอมอร ศรีทองฉิม | เข้าใจกลไกการเกิดโรคแบบ พวธ การแก้มุ่งๆปที่จิตวิญญาณซึ่งเป็นสาเหตุใหญ่ในการแก้ไขโรคภัยไข้เจ็บ ทำสมดุลใช้ของเรียบง่ายใกล้ตัวพึ่งตน เอาเวทนาตนเป็นหลักในการตรวจสอบอาการ เชื่อกรรมและผลวิบากกรรมที่คอยส่งผล มีอริยศีลเป็นที่พึ่ง |
นางสาว | เสริมศรี ชวานิสากุล | สภาวะ "รับแต่ของที่เขาให้ ต้องการแต่ของที่เขาให้" เรื่องการพูด พูดแต่เรื่องที่เขาให้พูด ไม่พูดตามความอยากพูดเพื่อให้ได้ผลดังใจตนเอง |
นางสาว | สุคนธ์ ศิลปบวรเลิศ | ทุกวันนี้ ทุกชีวิต ไม่มีใครเป็นสุขได้แท้จริงเลย มีแต่สุขลวงสุขหลอก ไม่หลอกตัวเอง ก็หลอกผู้อื่น แล้วเราจะล่วงพ้นสภาวะทุกข์นี้ไปได้อย่างไร เราจะล่วงพ้นทุกข์ได้ด้วย ความเพียร เพียรในการฟังธรรมขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ใคร่ครวญพระธรรม แล้วนำมาปฏิบัติให้ได้จริงเพื่อพ้นทุกข์ ทางกาย ทางใจซึ่งทุกข์ที่เกิดนั้น ไม่มีใครสามารถทำให้เกิดได้ นอกจากตัวเราเอง และเราก็ไม่สามารถทำร้ายผู้อื่นได้ นั้นคือผลวิบากดีร้าย ที่เราได้เคยล่วงเกินกระทำมานั้นเอง (เมื่อเราเรียนผูกเอง เราก็จักต้องเรียนแก้เอง) โดยตั้งศิล ปฏิบัติตน ให้ลด ละ เลิก กิเลส ไปเป็นอย่าง ๆ ค่อย ๆ เพิ่มอริยศิล ไป ค่อยๆ ยกของหนักในตัวออกที่ละเรื่องที่เป็นสัมภาระทุกข์ทั้งปวง สลัดออกไป ไม่พัวพัน ตัวเราก็จะค่อย ๆ เบา เบา ลงเรื่อยๆ จนใจยอมรับความจริงว่าทุกสิ่งอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา (ได้เกิดแล้ว ผันแปรไปเป็นธรรมดา และรอเสื่อมสลายไปในที่สุด ทั้งดี และชั่ว อยู่ที่ใจ ของเรานั้นเอง สาธุค่ะ |
นางสาว | ชุติวรรณ แสงสำลี | ปฏิบัติศีลอย่างตั้งมั่นในอริสัจ 4พึ่งตนและช่วยคนให้พ้นทุกข์ |
นาง | วิศน์ชญาพัชร์ ธรรมราช | ฟังแล้วมีความอยากที่จะต่อสู้กับกิเลสมากขึ้นวางทุกข์ได้ตามลำดับเห็นสัจจะธรรมตามความจริงได้เห็นลีลาของกิเลสแต่ละคนและนำมาพิจรณาเพื่อที่จะไม่ไปยึดติดกับมันและทำให้คลายทุกข์ใจวางได้ในที่สุด |
นางสาว | วาสนา ทูลแก้ว | หลังจากที่ได้ฟังธรรมแล้ว รู้สึกมีความสบายใจ ใจเบาขึ้น เมื่อกระทบกับผัสสะทำให้เรารู้เท่าทันจิต , ประโยชน์ที่ได้รับ ทำให้เรามีศีลมากขึ้น อย่างน้อยศีล 5 ไม่มีการเบียดเบียนสัตว์ , ทำให้เรามีการตั้งศีล เช่น จะไม่กลัวโรค จะเลิกกังวลและหวั่นไหว "ยินดีรับ ยินดีให้หมดไป" |
นางสาว | พวงผกา โพธิ์กลาง | ได้รู้และได้ปฏิบัติการพึ่งตนและช่วยคนให้พ้นทุกข์ รู้วิธีดับทุกข์ที่ต้นเหตุ ด้วยอริยสัจ 4 ดับทุกข์ดับที่เหตุ ทุกข์เพราะอะไร อยากได้อะไรพอไม่ได้ก็ทุกข์ ร่างกายก็เจ็บป่วยเพราะร่างกายต้องเกร็งตัวขับพิษออก ทำให้เกิดโรคได้ทุกโรค เมื่อไหร่ที่เครียดจะทำใ้ป่วยเกิดโรค พระพุทธเจ้าสอนให้ทำใจให้เบิกบานให้ได้ทุกสถานกาณ์ ก็มีวิธีเดียวคือ สัมมาอริยมรรคมีองค์แปด อริยสัจ 4 รู้ทุกข์ สภาพดับทุกข์ นิโรธ มรรควิธีปฏิบัติสู่ความพ้นทุกข์ เป็นวิธีที่ดีที่สุดในโลก ทำได้แล้วได้เลย จิตใจผ่องใสไร้กังวล กิเลสมาก็กำจัดได้เร็ว ร่างกายแข็งแรงจิตใจเบิกบานแจ่มใส เราต้องกล้าที่จะไม่ได้ดั่งใจ การได้ดั่งใจทำให้กิเลสโต สะสมเป็นวิบากร้าย เป็นแรงเหนี่ยวนำที่ไม่ดี ได้เรียนรู้วิธีดูแลสุขภาพ และนำมาปฏิบัติได้จริงร่างกายแข็งแรงขึ้น และได้แนนำให้ผู้อื่นทำตามได้ |
นางสาว | อัญชนาณิช คำพิมูล | ได้ยิ้มหัวเราะเบิกบาน เมื่อได้ฟังการบรรยายจากอาจารย์ในเรื่องการแก้ทุกข์ใจ อริยศีล อริยปัญญา ประโยชน์ที่ได้รับคือ เมื่อเจอสถานการณ์ที่ไม่พอใจ ในชีวิตประจำวัน จะมีข้อธรรม คำสอนของท่านอาจารย์ขึ้นมาคือ เต็มใจรับ ยินดีรับ รับก็หมดไป จะได้โชคดีขึ้น แกล้วกล้า อาจหาญ เบิกบานแจ่มใส ได้ทุกสถานการณ์ ทำให้ใจสบายมากขึ้นค่ะ เพราะเข้าใจเรื่องวิบากดี-ร้าย |
นางสาว | เอ็นดู พูลสวัสดิ์ | ได้เกิดปัญญาลดละกิเลสได้มากขึ้น |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | ได้สุขภาพที่แข็งแรงขึ้น และ ได้รับประโยชน์ในการดูแลตนเองและสามาราถให้ความร฿เพื่อการพึ่งตนแด่เพื่อนพี่น้องที่ต้องการรับความช่วยเหลือด้วยใจที่เบิกบา |
นางสาว | สิริรัตน์ ก้าวหน้าวาณิช | ไม่มีอะไรที่เราได้รับโดยที่เราไม่ได้ทำมา |
นางสาว | นมลชนก แก้วเกษ | ความสุขสมใจอยาก คือความทุกข์ที่ถูกที่สุดในโลก คือสิ่งที่น่ากลัวที่สุดในโลก ที่คนส่วนใหญ่ไม่รู้ สุขที่ได้สมใจอยาก คือสุขลวง สุขหลอก สุขปลอม สุขแป๊บเดียว ที่เหลือทุกข์ทั้งหมดทั้งมวล และเหนี่ยวนำคนอื่นทำตามเป็นวิบากร้าย ดึงเรื่องร้ายเข้ามาสู่ตัวเองคนอื่น สุขที่ไม่น่าได้ น่าเป็น น่ามีคือสุขที่ได้สมใจอยาก สุขที่น่าได้ น่าเป็น น่ามีคือสุขที่ไม่ได้ตามที่อยาก สุขที่หมดอยาก กล้าได้ในสิ่งที่เราไม่อยาก น่าได้ที่สุดในโลก กล้าหมดอยาก ยินดีที่ไม่ได้ตามที่อยาก สุขที่สุดในโลก ตัดสิ่งที่ชั่ว ดีไหนเกิดได้ พร้อมอยาก ที่ไหนเกิดไม่ได้ พร้อมหยุด เราก็มีความสุขได้ ดีเกิดได้ก็มีความสุขได้ ดีไม่เกิดไม่ได้ก็มีความสุขได้ เมื่อเราไม่อยากก็มีความสุข ให้โลกและเราได้อาศัยก่อนที่ทุกอย่างจะดับไป ทำสมดุลร้อนเย็น พาให้คนพ้นทุกข์ เรื่องร้ายก็หมดไป เรื่ิองดีก็อาศัยก่อนที่ทุกอย่างจะดับไป ประโยชน์ที่ได้รับคือ ได้น้อมนำคำสอนมาพากเพียรฝึกฝนตัวเอง เตือนตน สอนตน ฝึกทำอะไรไม่ตามใจตัวเอง ฝึกคิดให้พ้นทุกข์ กล้าและยอม รับในสิ่งที่ตัวเองทำมาในทุกเรื่องทุกมิติให้ได้ เพิ่มศีล ลดกิเลสส่วนที่เหลือไปตามลำดับๆ ยกตัวอย่างเช่นตาเห็นของที่ชอบแล้วเกิดความรู้สึกอยากได้ กล้าที่จะตั้งศีลเลิกตอนนั้นเลย ไม่ทำตามที่อยากได้ แม้จะมีเป็นประโยชน์หรือไม่เป็นประโยชน์ก็ตาม กล้าที่จะไม่ได้ตามที่อยาก กล้าตัดกิเลส เด็ดขาดในการตัดกิเลส(ความหลงสุขลวง ทุกข์)) |
นาง | สุรภี สนธิแก้ว | ได้ฟังธรรมะที่ถูกต้องถูกตรง ที่ไม่เคยได้ฟังจากที่ไหนมาก่อนพอคิดตาม ปฏิบัติตาม ลด ละ เลิก กิเลสตัวน้อยๆได้ก็ทำให้ได้ประโยชน์ตนคลายทุกข์กาย ทุกข์ใจไปตามลำดับ |
นางสาว | ไปรยา เพื่อนพิมาย | ธรรมมะจากอาจารย์ฟังทุกวันค่ะอาจจะเป็นย้อนหลังส่วนมากแต่ติดตามตลอดค่ะประโยชน์ได้ทบทวนธรรมได้สิ่งใหม่เพิ่มเติมด้วยค่ะ |
นาง | กัญจนา อบรมชอบ | ใจที่เคยหงุดหงิดเพื่อน เพื่อนทำงานไม่ได้ดังใจเราพอได้มาฟังธรรมรู้สึกใจเย็นขึ้นและเมตตาเพื่อนฟังธรรมก็รู้สึก |
นาง | กุลประภัสรร์ สุขบาง | จิตใจมีเมตตา, ลดละกิเลส, อัตตาและอุปาทานเบาบางลง เข้าใจเรื่องการทำงานของจิตและเจตสิก, จัดการกับสภาวะอารมณ์ได้ดีขึ้น, ปล่อยวางนิวรณ์ 5 ได้มาก |
นาย | ธนวินท์ อินทนิล | |
นาง | วสา ราญคำรัตน์ | ลดความหวาดหวั่นต่อสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นเพราะว่าทุกอย่างนั้นเราทำมา และให้แล้วไม่คิดจะเอาอะไร |
นาง | ชวนพิศ แก้วประดิษฐ | |
นาง | ณัชญ์ชาพัฒ วงศ์วิวิทย์ | เข้าใจเรื่องกรรม ชัดเจนขึ้น “สิ่งที่เราได้รับคือสิ่งที่เราทำมา” ประโยชน์ที่ได้รับคือ สามารถยินดี กับเหตุการณ์กับสิ่งที่มากระทบใจเร็วขึ้น จากเดิมไม่รู้ว่าเกิดจากอะไร สงสัยและมักโทษตัวเอง |
นางสาว | สุทัศณีย์ วงษ์กิ่ง | สภาวธรรมดับทุกข์ใจที่เหตุเพราะทุกข์ใจกังวลหวั่นไหวทำให้เกิดโรคเรื่องร้าย มีประโยชน์เหตุทีอยากได้เรื่องดีสิ่งดีดั่งใจไม่คาดหวังดั่งใจหมายคลายทุกข์ใจดทุกข์และโรคและเรื่องร้ายดับมุกข์ใจได้ |
นาย | ไพฑูรย์ ทุมพันธ์ | |
นาง | วราภา ร่าหมาน | ทำให้จิตใจเย็นลงมากค่ะ ไม่คิดมาก ไม่ทุกข์ใจเหมือนแต่กอ่นค่ะ |
นางสาว | นรา แสงหิรัญวัฒนา | รู้ว่าทุกข์เพราะเราอยาก หรือไม่อยาก นำมาพิจารณาลดทุกข์ได้บ้างบางขณะ |
นาง | ภัคภร จันทราสกุล | ชีวิตต้องกล้าทุกข์ ยิ่งอยากจะยิ่งทุกข์ |
นาย | พ.ต.สมยศ ภัทรกุลโชติพร | อริยสัจ๔ เป็นหนทางแห่งการพ้นทุกข์ |
นาย | กิตติ สิริพณิชพงศธร | ได้ความรู้ที่ทำให้เห็นความคิดของกิเลสที่ทำให้เราเกิดความทุกข์ใจหลายลีลาเช่นโกรธ กลัวหรือกังวล แล้วใช้ธรรมะที่อาจารย์สอน มาฝึกสลายเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ใจได้เป็นลำดับๆ มีผลคือทำให้ลดความทุกข์ใจหรือไม่ต้องทุกข์ใจในเหตุการณ์ที่ต้องเจอ |
นางสาว | สุวรรณ กังวานนวกุล | ใจเป็นใหญ่ ใจเป็นประธาน ทุกสิ่งสำเร็จด้วยใจ พระบรมศาสดาพระพุทธเจ้าพระองค์มีใจที่บริสุทธิ์ ประเสริฐสุด เมตตาสุด และมีปัญญามากที่สุด พระองค์ทรงสอนแต่เรื่องที่จะพาให้เราพ้นทุกข์ ดังนั้นเราจึงต้องดำรงชีวิตของเราตามคำสอนของพระองค์ หน้าที่หลักของเราคือการละกิเลส พาตนให้พ้นทุกข์ แต่การละกิเลสต้องอาศัยศีลและปัญญา ซึ่งเราต้องฟังจากผู้รู้จริง มีศีลและปัญญาจริงๆ (คือท่านอาจารย์หมอเขียว) ประโยชน์ที่ได้รับจากการฟังธรรม สูงสุดคือมีปัญญาต่อสู้กับกิเลส |
นาง | อาทิชา พรมมี | ใจสงบ ไม่ว่าวุ้น อยู่อย่างใจเย็น |
นางสาว | ณฐิตา อินชัยยงค์ | ตัณหา คือ ความอยาก และเมื่อได้ทำตามที่อยากเมื่อได้ทำดั่งใจต้องการ เมื่อนั้นก็นำมาซึ่ง ความกลัว กังวล หวั่นไหว กลัวว่าจะไม่ได้สิ่งนั้นมา ได้มาแล้วก็กลัวจะหมดไป ได้มาแล้วยิ่งอยากได้เพิ่มอีก เมื่อไหร่ที่ตกเป็นทาสของความอยาก เราก็จะหลงผิดทำชั่วโดยที่ไม่รู้ตัว เมื่อหลงทำชั่วตามที่อยากและได้เสพดั่งใจหมาย เมื่อนั้นก็จะดึงเรื่องร้ายๆให้เข้ามาและนำมาซึ่งทุกข์ใจ เมื่อตกอยู่ในสภาพทุกข์ใจ ก็ต้องเสียพลังไปดันทุกข์ออก |
นางสาว | อังคณา ทิพย์ผลาผล | |
นางสาว | อุษา บุตรพรม | เห็นกิเลสเร็ว รู้ตัว ป่อย วาง รู้สึกว่าเบาสบายใจ ค่ะ |
นาง | พรทิพย์ ไทยเอียด | ให้กล้าที่จะทำใจรับสิ่งดีร้ายที่จะเกิดขึ้นกับเราให้ได้ด้วยจิตที่ยินดีเบิกบายให้ได้เพราะเรามีปัญญารู้และเข้าใจในเรื่องวิบากกรรม ว่าเราทำมาทั้งสิ้น |
นาง | ชยานี โพธิ์ทรง | ดีมาก ทำให้รู้ถึงสภาวะหนทางสู่ทางกับทุกข์ |
นาง | ภัคเปมิกา อินหว่าง | เมื่อเจอปัญหาหรือทุกข์ สามารถนำมาดับทุกข์ได้ด้วยบททบทวนธรรมและทุกข์อริยสัจ |
นาง | เรือนแก้ว สว่างวงษ์ | |
นาง | ภัคเปมิกา อินหว่าง | |
นาง | พรทิพย์ ไทยเอียด | ใจที่เย็นลง มีสติในการคิดพิจรณาเรื่องต่างๆรอบตัวมากขึ้น |
นางสาว | ผุสดี เจริญไวยเจตน์ | แต่ละคนมีฐานจิตแตกต่างกัน มีทางเลือกปฎิบัติแตกต่างกันทางวัตถุ แต่จิตที่ไร้ทุกข์จะเป็นพลังในการทำทุกอย่าง |
นางสาว | ปภาพิศา มงคลธนาวุฒิ(ณิ) | มีความเชื่อมั่นในหลักการแพทย์วิถีธรรม ที่เดินตามรอยพระพุทธศาสนา และเกิดปัญญาในการใช้ชีวิตประจำวัน ขณะที่เราขาดสติ จิตจะมาเตือนด้วยเสียงธรรมมะที่ได้ฟังบรรยาย การได้รับฟัง มีประโยชน์อย่างมหาศาลในการดูแลสุขภาพพึ่งตนเอง |
นาง | ชวนพิศ แก้วประดิษฐ | ได้ความรู้ดีๆมากมายเปลี่ยนชีวิตใหม่ พฤติกรรมใหม่ ลด ละเลิก เนื้อ นม ไข่หันมากิน พืช จืด สบาย เบากาย มีกำลัง มีธรรมดีสอนบรรยายทุกวันมียา9เม็ดดีที่สุดในโลกนำมาปฏิบัติตาม ประโชน์ที่ได้ลดค่าใช้จ่าย นำธรรม มาดับทุกข์ |
นางสาว | วลัยพักตร์ ชุมทอง | ดื่มปัสสาวะเช้า. ก่อนนอน ใช้หยอดตา หยอดหู ล้างหน้า รสชาติจืดสนิท ใช้สมุนไพรฤทธิ์ร้อนเย็นปรับสมดุลร่างกายให้ตัวเองและคนที่บ้าน. ปลูกผักผลไม้ทานเองที่บ้านและขูดกัวซาให้คุณพ่อเพื่อขับพิษออกค่ะ |
นางสาว | พรทิพย์ อิ่มทุ่งน้อย ก้อย | ลดความอยากได้ดั่งใจ ไม่อยากก็ไม่ทุกข์ |
นาง | ดอกไม้ ปวะบุตร | ได้เข้าใจทุกข์และการตั้งศีลเพื่อลดละกิเลส ผลที่ได้รับ เราเข้าใจและแก้ทุกข์ได้เร็วขึ้น |
นาง | ณัชวรรณ ศรีเพชรส่องแสง | เกื้อกูล,อย่าโกรธ, |
นาง | พรรณธิพา แย้มบัว | เมื่อเราทำเหตุคือผิดศีล ข้อใดก็ตามแล้วทบทวนย้อนไปดูเราจะได้รับความทุกข์ตามมาทุกครั้ง ทำให้คิดได้ว่าเราควรหยุดได้แล้วพอหยุดเรื่องนั้นๆได้ก็ทำให้เราเข้มแข็ง เบิกบานได้ตามลำดับ |
นาง | ยุพิน ไชยยศ | ใจไร้ทุกข์รู้จักพึ่งตนเองค่ะ. |
นาย | วสันต์ แสนกือ | มองเห็นตนเองมากขึ้น ไม่โทษผู้อื่นไม่ใส่ร้ายผู้อื่น ความทุกข์ในใจลดลงมองเห็นโลกอีกด้านหนึ่งที่มีอยู่จริงในโลกเดิม |
นาง | สุมา ไชยช่วย | ทำให้ทุกข์ลดลง ใจเบิกบานขึ้น |
นางสาว | วิญญา จันทะพล | |
นาง | เพ็ญศรี มงคลชาติไทย | ได้ความรู้ในเรื่องการพึ่งตนและนำมาใช้กับตัวเองและคนรอบข้าง |
นาง | วสา ราญคำรัตน์ | สิ่งใดที่ทำถูกต้องจะรู้สึกโปร่งโล่งสบาย ทำให้เราเช็คการกระทำของเราได้ง่ายขึ้น |
นางสาว | ธัญญ์นิธิ ภักดีชน | ทำให้สำนึกรู้ ตัวตนมากขึ้นค่ะ คำสอน อาจารย์ตอกย้ำให้รู้ว่าความดีที่เรายึดติดนั้น ยังไม่ใช่ดีของแท้ มันยังเป็นกิเลส ที่เรายังไม่รู้เท่าทันตัวเองเลย |
นางสาว | อมรา อ่อนทรัพย์ | มีจิดใจเบิกบานขึ้นไม่เพ่งโทษผู้อื่น |
นางสาว | ผาสุข ตันชวลิต | การปล่อยวาง ไม่ว่าจะเกิดสถานการณ์อะไร ได้ประโยชน์ คือ จิตเบาๆ กายก็ผ่อนคลาย |
นาง | ดรุณี อินทนิล | ให้แล้วคิดที่จะไม่เอาอะไรกใครให้ได้ ด้วยใจที่ไร้ทุกข์ แม้แต่รอยยิ้มและคำขอบคุณ เมื่อศีลดี ทำดี สิ่งดีๆจะเกิดขึ้นไดยที่เราไม่ต้องร้องขอ จะมาเอง ลูก สามี นิสัยดีขึ้น ขยันขึ้นตามแรงเหนี่ยวนำสิ่งดีของเรา ไดยที่เราก็ไม่ยึดอยากแล้ว |
นางสาว | สุภารัตน์ จันโดน | นับหนึ่งที่เรา เริ่มต้นที่เราค่ะ อดทนรอคอยทำดีเรื่อยไปใจเย็นข้ามชาติค่ะ เกิดอะไรขึ้นท่องไว้เราทำมารับ ฟังธรรมทุกวันปัญาเกิดทุกวันค่ะไม่ทุกข์นานแค่รำคาญคนรอบข้าง แต่เข้าใจเพราะเขายังโง่อยู่เมื่อก่อนเราก็เคยเป็นแบบนี้ค่ะ |
นาย | สุนทร คำเหลือง | ได้ฟัง อจ.หมอเขียวบรรยายธรรม อริยสัจสี่ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค บางประโยชน์เข้าใจ บางคำเข้าใจ ที่ไม่เข้าใจมีอีกมาก ส่วนที่เข้าใจสภาวะธรรมที่เกิดมีทั้งใจคลายความทุกข์ได้เป็นบางส่วนบางอย่าง ส่วนที่ได้ปรโยชน์รู้ความจริงในทุกข์ที่ติด กามคุณทั้ง๕รูป กลิ่น เสียง รส สัมผ้ส ถ้ายังชอบอยุ่ เป็นพิษต่อเราและผู้อื่น ผมลดกิเลสได้เป็นบางอย่าง และลดได้เป็นบางวัน เช่นลดกินเนื้อสัตว์ ไม่กินอาหารไม่ปรุง ปรุงแต่เกลือ |
นางสาว | ปภาพิศา มงคลธนาวุฒิ(ณิ) | ได้ปรับสุขภาพจากมีอาการนอนไม่หลับ ทำให้หายอาการนี้ และหลับดี |
นางสาว | เอ็นดู พูลสวัสดิ์ | ไม่ได้ดั่งใจฟังอาจาร็ยหายทุกข็ได้ |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | เบิกบาน แจ่มใส ใจเป็นสุข รู้ทันกิเลส |
นางสาว | วิมลวรรณ สินธุจริวัตร | อย่าโกธร อย่ากลัวเป็น อย่ากลัวตาย อย่ากลัวโรค อย่าเร่งผล อย่ากังวล |
นาง | สุนันท์ พานิช | |
นางสาว | ว่าที่ร.ต.หญิงอำนวยพร ดวงโสภา | ได้เข้าใจอริยศีล การปฏิบัติอริยสัจ4ได้รู้ถึงการเปลี่ยนจากกลัวเป็นกล้า ให้กล้ารับวิบากร้าย ยินดีรับ หมดเท่าใดหมดเท่านั้น ท่านอาจารย์อธิบายเข้าใจง่ายเหมือนเส้นผมบังภูเขาเข้าใจได้ค่ะลดละกิเลสความอยากได้ |
นาง | วิไลวรรณชุมทอง | เข้าใจสภาวธรรมที่เกิดขึ้นในแต่ละวันได้มากขึ้น |
นาง | วราภา ร่าหมาน | วันนี้รู้สึกสับสน บ้างครั้งก็เข้าใจดี บางครั้งก็ยังงงๆอยู่ค่ะจิตไม่ค่อยสงบเท่าไร แต่ก็พยายามทำให้จิตสงบลงได้เพราะพยายามตั้งใจฟังอาจารย์ค่ะ ประโยชน์ก็ในที่สุดจิตก็สงบลงได้ก็เป็นสุขค่ะ |
นาง | เฟื่องฟ้า นภาคะเวช | ทำให้มีสติรู้ อยู่กับความจริง กล้ายอมรับสิ่งที่เป็นอยู่ จะได้สบายใจ |
นาย | ไพฑูรย์ ทุมพันธ์ | สรุปสภาวะธรรมที่ได้จากการฟังธรรม มีจิตรใจที่เย็นลงมาก ประโยชน์ที่ได้รับ ได้นำไปปรับใช้กับชีวิตประจำวันเช่น ใช้ธรรมระงับความโกธในใจได้ดีครับ |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | ความอยากทำให้กลัว ความกลัวเป็นทุกข์ที่ทุกข์ที่สุดในโลก เสียพลังไปกลัว ความกลัวออก |
นางสาว | สำรวย รัตตนะ | ยอมรับ ยินดี พอใจไร้กังวลทำใจได้นิ่งมากขึ้นไม่หวังในสิ่งใดๆเมื่อมีปัญหาอะไรมากระทบจะจับกิเลสและวางได้เร็วขึ้นง |
นาง | ศิริพร คำรินทร์ | ลดกิเลส ลดการเบียดเบียนด้านการบริโภคเนื้อโดยไม่รับประทานเนื้อสัตว์และลดละเลิกผลิตภัณผฑ์จากสัตว์ลดการกินอาหารให้เหลือ1มื่้อลดโรคลดยา |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | ใจที่เป็นทุกข์กับสิ่งต่างๆก็ลดลง ประโยชน์ที่ได้รับคือใจก็เป็นสุขกายก็แข็งแรงเกิดเรื่องดีๆขึ้น |
นาง | ธันญาภัท นันทอัครกุล | รู้สึกฟังแล้วสบายใจ |
นาย | ประพันธ์ โพธิ์คำ เท่ ใจถึงศีล | ก.สภาวะธรรมที่ได้รัยจากการฟังธรรม 1-มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฎฐา มโนมยา บรรดาธรรมทั้งหลาย ล้วนมีใจเป็นผู้นำ(ใจเป็นใหญ่ ใจเป็นประธาน) ใจสำคัญที่สุด ใจเป็นผู้รังสรรค์ หากใจเศร้าหมอง ไม่ว่าพูดหรือทำ ทุกข์ย่อมตามติด ประหนึ่งล้อเกวียนหมุนเวียนตามรอยเท้าโค ใจสำคัญที่สุด ใจเป็นผู้รังสรรค์ หากใจผ่องใส ไม่ว่าจะพูดหรือทำ สุขย่อมติดตัว ประหนึ่งเงาตามตน 2-นิพพานัง ปรมัง วะทันติ พุทธา พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ตรัสว่า พระนิพพานเป็นเยี่ยม 3-ธรรม + ศาสตร์ คือ ศาสตร์แห่งธรรมอย่างแท้จริง ข.ประโยชน์ที่ได้รับ -ควรปฏิบัติธรรมเพื่อรอให้เห็นทุกข์ ดีกว่ารอให้เห็นทุกข์ แล้วค่อยปฏิบัติธรรม -ทุกๆสาขาวิชาที่ล่ำเรียน ล้วนมีจุดมุ่งหมายเพียงหนึ่งเดียว คือ หนทางแห่ง การขจัดความอยาก ความ น่าได้ น่าเป็น น่ามี ความชิงชังรังเกียจ -การขจัดกิเลส การพ้นทุกข์ การได้พบกับความสุขที่แท้จริงของชีวิต(สุขจากกิเลส คือ ทุกข์ที่บรรเทาชั่วคราว เหมือเกาขี้กลาก บวกวิบากร้ายไม่สิ้นสุด) -สรรพวิชาการต่างๆที่คนร่ำเรียน เพื่อทำให้ตัวเองพ้นจากความทุกข์ แต่จะมีสักกี่คนที่ ได้ร่ำเรียนสรรพวิชาการเพื่อให้ตัวเองพบหนทางแห่งการพ้นทุกข์อย่างแท้จริง ยังยืน และมีความสุขไปตลอดกาลนาน |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | ให้ฝึกมีความกล้าเป็นอันดับแรก หล้าที่จะหยุดชั่ว กล้าที่จะทำความดี กล้าที่จะยอมรับดีไม่เกิด |
นางสาว | นิรมล ทองชะอุ่ม | วิชาเรียนทางโลกโลกทำให้เพิ่มทุกข์วิชารามเรียนแล้วทำให้พ้นทุกข์ทุกข์เกิดจากการอยากต้องมาเรียนอริยสัจ 4 พาพ้นทุกข์ |
นาง | ยุพิน หมายชื่น | พิจารณาอริยสัจในชีวิตประจำวันได้ดีขึ้นกว่าเดิม เพิ่มพูนความรู้ แนวทางในการดูแลสุขภาพของตน หลากหลายวิธีการ เพื่อลดการเจ็บป่วยและมีชีวิตที่มีความสุขได้ง่ายขึ้น |
นาย | สุรชัย สร้อยสวัสดิ์ | - พระพุทธเจ้าทรงสอนวิชาพ้นทุกข์ คือวิชาอริยสัจ 4 เป็นหลักความจริงอันประเสริฐ เป็นหลักการในการแก้ปัญหาชีวิตให้พ้นทุกข์ 4 ประการ คือ ทุกข์ ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ความเศร้าโศกเสียใจ, สมุทัย คือสาเหตุทำให้เกิดทุกข์ ได้แก่ตัณหา 3 ประการ กามตัณหา ภวตัณหา และวิภวตัณหา เป็นสิ่งที่ต้องละ ความอยากได้ อยากมี อยากเป็น ความไม่อยากได้ ไม่อยากมี ไม่อยากเป็น เป็นความทุกข์ทางใจ, นิโรธ หมายถึงความดับทุกข์ ทุกข์ทางใจดับความอยากด้วยการ กล้าที่จะไม่ทำตามที่อยาก ไม่กลัวที่จะไม่ได้ตามที่อยาก เพราะเป็นสุขไม่จริง เป็นสุขปลอม เมื่อได้ตามที่อยากแล้วก็ยังอยากอีกไม่มีที่สิ้นสุด เพราะอวิชาความไม่รู้, มรรค หมายถึงข้อปฏิบัติในการดับทุกข์ มรรคมีองค์ 8 เช่น มีสัมมาทิฎฐิ การมีความเห็นถูกฯลฯ เป็นต้น อริยสัจ 4 เป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา วิชาของพระพุทธเจ้า ใช้แก้ ปัญหาทุกอย่างในโลก เป็นการแก้ที่ต้นเหตุ แก้ปัญหาได้ถูกจุด ปัญหาก็หมดไป - ประโชยน์ที่ได้รับ ได้นำไปปรับใช้กับชีวิต ด้วยการไม่ทำตามที่อยาก เนื่องจากมีความต้องการอยากได้ที่ดิน 2 ไร่มาทำไร่นาสวนผสม โคกหนองนา แต่ติดด้วยปัจจัยด้านการเงิน กำลังและความเจ็บป่วยของร่างกาย ก็เกิดความทุกข์ใจ ที่ไม่ได้ตามที่อยาก เมื่อได้ศึกษาแล้วนำมาพิจารณาปรับใช้กับชีวิตให้ลดละเลิกความอยาก กล้าที่จะไม่ได้ตามที่อยาก จิตใจก็เบาสบาย ลดความกังวลลง และปรับเปลี่ยนความคิดมาปลูกพืชผักสวนครัว ในพื้นที่ดินหน้าบ้านเล็กน้อย และขออนุญาตใช้พื้นที่ดินของเพื่อนบ้านที่ ยังไม่ทำประโยชน์มาปลูกพืชผัก ทำให้ไม่ต้องเป็นทุกข์ เป็นการปรับเปลี่ยนจิตใจกล้าที่จะไม่ได้ตามที่อยากมี เมื่อดับเหตุคือความอยากมีที่ทำให้ใจเกิดทุกข์ เมื่อทุกข์ดับสุขก็เกิดเพราะใจกายที่เบาสบาย มีสุขภาพแข็งแรงมีความสุข |
นาง | กุลประภัสสร์ สุขบาง | สบายใจ ไร้กังวล เพราะรับวิบากก็ดี วิบากร้ายหมดไป ทรมานน้อยก๋ดี กุศลส่งอานิสงส์ ตายก็ดี ได้กายใหม่ แม้ลงอบายภูมิ ก็มีความรู้อริยสัจสี่ติดวิญญาณขันธ์ไปด้วย จิตพ้นทุกข์ จะอยู่ในภพภูมิใด หากจิตเป็นกุศล ละอกุศลกิเลสได้แล้ว วิญญาณขันธ์ย่อมมีภูมิธรรมคุ้มครองจิตวิญญาณ |
นางสาว | ณฐิตา อินชัยยงค์ | แต่ละคนมีฐานจิตที่แตกต่างกันไป การที่เราไปเร่งให้ใครได้ดีเกินกว่าที่เค้าจะก้าวหน้าได้ เป็นการโกง เป็นการขโมย เราควรช่วยเท่าที่เราพอช่วยได้ช่วยแล้วต้องวาง ถ้าเค้าทุกข์จนเกินทนเค้าจะเพิ่มฐานของเค้าเอง หน้าที่ของเราคือทำดีที่ให้เค้าเห็น ให้เค้าได้บันทึกข้อมูล ซักวันนึงเค้าจะได้เอาไปใช้ |
นางสาว | ดรุณวรรณ แซ่ห่าน | |
นาง | สมใจ สิทธิพงษ์ | ได้ล้างความอยากตัวเองที่จะทำดีห่อแบ่งปันสิ่งของรมมใจเรา ทั้งที่คนในบ้านไม่เห็นด้วย ได้ฟ้งอาจารย์และเข้ามาอยู่ในหมู่มิตรดี ก็เข้าใจแล้วว่าเราทำดีได้ทุกเวลาโดยทำดีตัวเราก่อนลดกิเลสก่อน ไม่ต้องใช้เงินก็ได้ค่ะ |
นาง | วิไลวรรณชุมทอง | มีความผาสุกเพิ่มขึ้น |
นางสาว | จิรานันท์ จำปานวน | เชื่อชัดในเรื่องวิบากรรมมากขึ้น แต่ก่อนจะระแวงเวลาที่ไปเจอคนที่ไม่รู้จัก ว่าเขาจะมาโกหก มาหลอกเราหรือเปล่า แต่พอได้ฟังธรรมมะจากอาจารย์ก็ได้เข้าใจ และทำใจตามว่า ไม่มีอะไรทำร้ายเราได้นอกจากความชั่วของเรา ไม่มีอะไรทำดีกับเราได้นอกจากความดีของเราเอง ทำให้ใจสบาย โล่งขึ้นค่ะ |
นาง | นปภา รัตนวงศา | อาพาธสูตร พระคิริมานนท์ สัญญา 10ประการจะหายโรคได้ฉับพลัน อาทีนวสัญญาจะมีฤทธิ์ร้อนเกิน 80%ให้ใช้อาหาร สมุนไพรฤทธิ์เย็นแก้ในสัดส่วนที่มีฤทธิ์เต็ม กินอาหารวันละมื้อดีที่สุด เจ็บป่วยน้อย ลำบากกายน้อย ถ้ายังทำไม่ได้ก็ค่อยๆลดลงมาจาก กินจุบจิบเป็น 5มื้อ 4มื้อ 3มื้อ 2มื้อ จนเหลือ 1มื้อ ถ้ากินผิดจะกำลังตก อ่อนเพลีย หนักตัวเป็นตัวชี้วัดด้านร่างกายให้รู้ว่าไม่สมดุลย์แล้วต้องรีบแก้ให้กำลังเต็ม เบาตัว |
นางสาว | อุรา สังข์ชม | ได้ฟังธรรมจากสัตบุรุษ ธรรมะพ้นทุกข์ ธรรมะโอสถ เทคนิคทำใจหายโรคเร็ว ย้อนไปปี 56 ปวดเข่า 2 ข้าง หมอบอกว่าลูกสะบ้าเอียง ปวดต้นคอ ตามแนวกระดูกสันหลัง ก้นกบ ทำให้หมดกำลังใจ กำลังใจตก หมดเรี่ยวหมดแรง คิดถึงธรรมะ ตอนเป็นเด็กนักเรียนประถม ครูเคยสอนเรื่องอริยสัจ 4 ทุกข์สมุทัยนิโรธมรรค มรรคมีองค์ 8 ทางเอกสายเดียวที่พาให้พ้นทุ่ง ก็ถามตัวเอง เราจะเข้าใจอริยสัจ 4 ได้อย่างไร ก็คิดถึงอาจารย์หมอเขียว เพราะชอบศึกษาสมุนไพรใน Google ว่าจะเข้าไปเจออาจารย์หมอเขียวดอทเน็ต เคยเข้าไปอ่านธรรมะ แล้วไม่เข้าใจ พ่อเป็นธรรมะโลกุตระ เราไม่มีพื้นฐานธรรมะ หาใน YouTube เจอหมอเขียวแพทย์วิถีธรรม ตอนนี้ชื่อหมอเขียวทีวี เข้าไปศึกษา เทคนิค 9 ข้อการดูแลสุขภาพ ข้อ 8 เป็นธรรมะรักษาโรค ได้ฟังธรรมได้ฟังเทคนิคทำใจให้หายโรคเร็ว ฟังเสียงอาจารย์หมอเขียวครั้งแรก เสียงกังวาน ใส มีพลัง ฟังวนซ้ำรอบ ถึงตอนท่านอาจารย์สรุปเทคนิคทำใจ อย่ากลัวตาย อย่ากลัวโรค อยา่เร่งผล อย่ากังวล ป่วยก็ตาย ไม่ป่วยก็ตาย หายตอนเป็นก็ได้ หายตอนตายก็ได้ หายตอนไหนชั่งหัวมัว กำลังใจเต็มบึ้มขึ้นมาทันทีเลยค่ะ เข้าใจคำว่าหายโรคแบบฉับพลัน เป็นแบบนี้นี่เอง ฟังธรรมะท่านอาจารย์ทุกวัน ตอนแรกๆก็ไม่เข้าใจ แต่ก็ฟังทุกวัน นั่งยิ้มนั่งหัวเราะตาม ท่านอาจารย์เบิกบานแจ่มใส ฟังธรรมะมาเรื่อยๆจนถึงปี 58 ค่ายพระไตรปิฎกครั้งที่ 10 เทปที่ 2 ท่านอาจารย์พูดถึงความเป็นอริยะ ต้องไม่เบียดเบียนใคร เกี่ยวกับเรื่องเนื้อสัตว์ ถ้าใครยังเถียงกินเนื้อสัตว์อยู่ หยาบ เห็นแก่ตัว หน้าด้าน จัด แรง สะดุ้งเลยค่ะ นี่เรานี่ ตั้งจิตเลิกกินเนื้อสัตว์เลยค่ะ ในวันที่ 27 พฤษภาคม 58 ถึงวันนี้ ตุลาคม 64 จะพากเพียรปฏิบัติต่อไปค่ะ ตามฐานจิตค่ะ สาธุค่ะ |
นาย | อัฑฒ์ฐากร ประทีปฐานิศร์ | ได้ปัญญาในการแก้ปัญหาและข้อสงสัยในการพัฒนาตนในหลายเรื่อง โดยเฉพาะบางเรื่องที่เป็นเรื่องส่วนตัวมากๆ แค่คิดว่าจะทำอย่างไรดี ไม่ถึง24 ชม อาจารยหมอเขียวได้นกตัวอย่างบางเรื่องซึ่งตอบปัญหาเหมือนดั่งวา ฟ้าประท่านเลยครับ ตอนแรกคิดว่าฟลุก เลยเมื่อเจอปัญกาอื่นอีกก้อตั้งจิตอีกว่าจะทำอย่างไร อีกไม่เกิน24ชม ก้อได้คำตอบอีกเช่นกัน สาธุๆๆๆๆๆๆๆๆๆ |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | ยิ่งอยากได้ยิ่งไม่ได้ เป็นวิบากร้าย ดูดดึงสิ่งร้ายๆเข้ามา ผลักดันสิ่งดีๆออกไป ยิ่งไม่อยากได้ยิ่งได้ เป็นพลังวิบากดีดูดดึงสิ่งดีๆเข้ามา ดันสิ่งร้ายๆออกไป ประโยชน์ที่ได้รับทำให้ได้รู้ความจริงตามความเป็นจริง |
นาง | กัญจนา อบรมชอบ | จากคนที่เคยใจร้อนก็กลายเป็นคนใจเย็น |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | ยิ่งอยากได้ยิ่งไม่ได้ ยิ่งไม่อยากได้ยิ่งได้ เพราะเป็นวิบากดีดูดดึงสิ่งดีๆเข้ามา ประโยชน์ที่ได้รับทำให้ได้รู้ความจริงตามความเป็นจริง |
นาง | ดอกไม้ ปวะบุตร | ความทุกข์และกิเลสทั้งหลายไม่สามารถทำอะไรเราได้ถ้าใจเราไร้ทุกข์ ไม่กลัวทึ่จะได้รับไม่กลัวที่จะไม่ได้ประโยชน์เราลดกิเลสลงได้ ไม่สะสม จัดหาเท่าที่จำเป็นและแบ่งปัน |
นาง | พรรณธิพา แย้มบัว | |
นางสาว | ผาสุข ตันชวลิต | ทำเต็มที่ทุกวัน สุขเต็มที่ทุกวัน |
นาย | ธีระพล ศรีเวชศิลป์ | ทำให้คิดถึงตัวเองในสถานการณ์ต่างๆ แล้วคิดถึงธรรมที่ได้ฟัง เพื่อนำมาใช้ |
นางสาว | ณัฐธยาน์เอื้อจำนงค์ | ไม่ทายใจผู้อื่นไม่บังคับผู้อื่นใ้ห้กินในสิ่งที่เราชอบปล่อยวางใ้ด้มากขึน้ |
นาง | นปภา รัตนวงศา | คิลาณสูตร คนไข้มี 3กลุ่ม 1.รักษาหรือไม่รักษาก็หาย 2.รักษาหรือไม่รักษาก็ไม่หาย 3.รักษาจะหายไม่รักษาไม่หายถ้าสบายจะหายโรค ไม่สบายจะไม่หาย ทุกข์ทุกอย่างเกิดจากความหวั่นไหว พิจารณาให้ชัดว่าความหวั่นไหวก่อโรคทุกเรื่อง การดับความหวั่นไหวกับทุกข์ทุกเรื่อง ให้กล้าให้ยินดีในทุกเรื่องทั้งเรื่องดีและเรื่องร้าย ยินดีทุกข์ ยินดีโง่ ยินดีที่แก้ไม่ได้ |
นาง | ดาวรุ่ง บัวแก้ว | เห็นกิเลสตนเอง ใจเย็นมากขึ้น มีสติตามรู้เท่าทันอารมณ์มากขึ้น |
นาง | 3 เพ็ญศรี มงคลชาติไทย | |
นางสาว | ทรงรัตน์ พรหมช่วย | ใจสงบลง เลยเห็นกิเลสเยอะดีคะ |
นางสาว | วิญญา จันทะพล | ขอต่อสภาวะธรรมจากวันที่ 13 ที่ผ่านมาค่ะ ด้วยวิบากเรา เพราะเราทำมามากกว่านั้น หลังจากนั้นไม่มีโอกาสไปเจอหมู่กลุ่มเลยส่งการบ้านและเข้าร่วมหมู่มิตรดีได้ไม่กี่ครั้ง เพราะไม่สะดวกเรื่องงาน ฟ้าปิดฉับ ได้วิชามาดูแลตนได้แบ่งปันดูแลผู้อื่น แต่ก็ทานกิเลสไม่ไหว ประพฤติตัวเช่นเดิม ที่เลิกได้ขาดคือการสูบอย่างเดียวเท่านั้น แต่เท่านั้นก็ถือว่าเป็นบุญร่างกายแข็งแรง ต้องรับวิบากต่อคือมีก้อนเล็กๆในเต้านมขวาประมาณปี60,61ไม่เจ็บไม่ปวดและไม่กังวลเชื่อว่าเดี๋ยวก็หายเอง แต่จริงๆแล้วอย่างที่อาจารย์สอนว่าเราต้องเพิ่มศีลให้ยิ่งขึ้นไปไม่งั้นวิบากจะไล่ล่า เราไม่ได้งดเนื้อสัตว์ไม่ได้งดดื่มเพียงแค่ละ ก้อนโตขึ้น จนเราหลงผิดมาใช้วิธีเร่งผล(กินมะม่วง) ครบกำหนดก้อนปะทุเป็นแผลที่หน้าอก ปรึกษากับจิตอาสาหลายๆท่าน ได้คำตอบที่ดีมากมายแต่ตัวเราเองที่ทำไม่ได้ ใช้วิธีพวธ.อย่างเดียวไม่สำเร็จเนื่องด้วยเหตุปัจจัยต่างๆรวมถึงวิบากที่ต้องรับจึงต้องไปรับพิษ และผ่าตัดในที่สุดเมื่อ3กย.ที่ผ่านมา เหมือนจะเป็นวิบากร้าย แต่ก็เป็นวิบากดีร่วมด้วย เพราะถ้าไม่เป็นมะเร็ง เราคงไม่มีโอกาสดีๆที่จะกลับมาเข้าหมู่อาจจะหลงไปนรกขุมไหนไปแล้ว เพราะพอเราเป็นเราบอกพ่อบ้านว่าเราจะไปปฏิบัติจริงจังละนะ ขอไปค่ายให้บ่อยขึ้นเค้าก็ยอมค่ะ ตอนไปค่ายสวน๙ อาท่านนึงให้เล่าเรื่องท่านก็บอกว่าเห็นทุกข์จึงเห็นธรรม ยังจะเถียงอีกว่าไม่ใช่ เราเห็นธรรมนานแล้วแต่เรามาไม่ได้ ที่จริงก็เป็นอย่างที่ท่านบอกถูกต้องแล้ว รับแล้วก็หมดไป เราก็จะโชคดีขึ้น ต่อจากนี้ก็จะกล้ารับทั้งสิ่งดีและร้ายที่จะผ่านเข้ามาค่ะ |
นาง | ณัฐพร อาภรณ์ศิริพงษ์ | ให้ใช้ชีวิตเรียบง่าย บำเพ็ญตนให้มีความสุขและแบ่งปันช่วยผู้อื่นตามกำลัง |
นาง | ดาวรุ่ง บัวแก้ว | ทำให้ได้ข้อคิด หวลมานึกถึงตัวเองว่าต้องปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ไม่โกรธ ไม่โมโห ไม่คิดร้ายกับใครๆ ฝึกตัวเอง |
นาง | ประคอง จันทร์ตรี | พอเราหมดความกลัว รู้สึกว่าทำไหมตัวเราเบาขึ้นตอนนี้การใช้ชีวิตประจำวันมีความสุข |
นาย | ศรานุทธ พูนพิน | ชั่งงูกลัวงูขณะไปตัดหญ้าในสวนผลไม้ข้างบ้านบริเวณนาใช้ธรรมมะเรื่องไม่มีอะไรทำลายเราได้นอกจากความไม่ดีของเราสิ่งที่เราได้รับคือสิ่งที่เราทำมาดลดึงคนสัตว์เหตุการณ์ไม่ดีมาทำร้ายเรากล้ารับเต็มใจรับร้ายจะเบาลงหรือไม่มาเลย2.อยากได้นิสัยดีจากคนในบ้านเป็นอาการชั่งเล็กๆธรรมมะที่ใข้เรื่องถ้าอยากได้มันจะไม่ได้ ถ้าไม่อยากได้มันจะได้ ถ้าอยากได้นิสัยดีๆของคนในบ้านมันจะไม่ไ้ด้ต้องกบ้าที่ไม่อยากได้แล้วมันจะได้คนทุกคนจะพ้นทุกข์อยู่แล้วไม่ชาตินี้ก็ชาติหน้าชาติไหนๆตามวิบากดีร้ายของแต่ละคนความทุกข์ของเค้าจะสอนเขาเองทุกข์เกินทนเค้าจะเปลี่ยนแปลงตัวเองอยู่แล้วส่วนเราทำดีเรื่อยไปใจเย็นข้ามชาติทำตัวอย่งดีๆให้ดูเปิดเผยข้อมูลดีๆออกไปนับ1ที่เราเริ่มต้นที่เราเราทำสำเร็จจะมีพลังเหนี่ยวนำคนอื่นให้สำเร็จตามได้ |
นาง | ประคอง จันทร์ตรี | ฟังแล้วถูกต้องเป็นความจริง ใช้ในการดำรงค์ชีวิตประจำ |
นาย | 3 พูลศักดิ์ โสภาวัฒนะโรจน์ | ทำให้มีสมาธิมีสติใจเย็นในการดำรงค์ชีวิต |
นางสาว | ผาสุข ตันชวลิต | ทุกบรรยากาศ รายงานความจริง |
นางสาว | กิรณา สุขสุดกุลธน | ได้เรียนรู้การอยู่ด้วยการพึ่งตนด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษกินเองและรู้จักแบ่งบันเป็นแรงเหนี่ยวนำให้เพื่อนบ้านปลูกผักตามด้วยถือศีล5ไม่กินเนื้อและเครื่องปรุงจากสัตว์กินมื้อเดียวอาจารย์สอนให้แกล้วกล้าที่จะไม่ได้ในสิ่งที่อยากเพราะจะเป็นทุกข์กลัวก็ทุกข์ยิ่งมาชวงโรคโควิคระบาดทำให้ได้ใช้ความกล้าที่จะเป็นโรคก็ได้ไม่เป็นโรคก็ได้ยินดีรับยินดีหมดไปด้วยใจไร้ทุกข์ความแกล้วกล้าทำให้เราพ้นทุกข์เพราะเราไม่ต้องมานั่งกลัวถ้ากลัวร่างกายออ่นแอพระพุทธเจ้ากล่าวไว้ว่าความหวั่นไหวเป็นโรคเพราะร่างกายจะเกร็งตัวบีบพิษออกเลือดลมใหลเวียนไม่สะดวกทำให้เจ็บป่วย อาจารย์สอนให้เรากล้ารับความจริงที่เป็นอยู่ทุกๆเหตุการณ์รับแล้วหมดไปตามวิบากดีร้ายของเราเอง |
นาย | 3 ไพบูลย์ รักษาบุญ | ทำให้มีสติ สมาธิ คิดรอบคอบ |
นางสาว | วิษยณัฐฐา นาครัตนะอมร | คำตอบอยู่ช่องคำตอบของข้อ 1.2 ค่ะ |
นางสาว | รัตนา กิจเกื้อกูล | จิตสงบ เกิดความรู้สึกผ่อนคลายมากขึ้น |
นางสาว | อุรา สังข์ชม | |
นางสาว | ณัฐชยา จินตนารั่งโรจน์ | |
นาง | เฟื่องฟ้า นภาคะเวช | |
นาง | รมิตา ซีบังเกิด | สภาวะธรรมที่ได้รับคือ ต้องมีความกล้าที่จะได้รับจากวิบากกรรม ให้หมดไปจากชีวิตๆก็จะไม่มีความทุกข์ที่จะเกิดขึ้นกับเราได้ ตั้งใจ ตั้งศีล ทำความดีให้มากๆ คือลดกิเลสให้มากๆ เกื้อกูลผองชนให้มากๆ ร่วมกิจกรรมของหมู่กลุมอย่างสม่ำเสมอ ประโยชน์คือจิตใจก็ไร้กังวล มีความสุข พ้นทุกข์ทั้งปวง ทำให้ร่างกายก็แข็งแรงยิ่งๆขึ้นไป |
นางสาว | สำรวย รัตตนะ | กล้าในธรรม ยินดีในธรรม รากเหง้าของความกลัวคือความอยากกล้าที่จะหมดอยากให้ได้ กลัวที่จะไม่ได้ตามที่อยากกังวลหวั่นไหวถ้าไม่กำจัดความกลัวเสียชาติเกิดเมื่อมีอะไรเกิดขึ้นอ่านให้ออกว่าเรากลัวอะไรอยู่ กล้าที่จะเป็นอันนั้นให้ได้ ประโยชน์ฝึกอ่านความกลัวความอยากให้ได้เร็วก็จะพ้นทุกข์ได้เร็วเท่านั้น |
นางสาว | ฐิตารีย์ ธนัทพงศภัทร์ | วันนี้ได้เรื่องการละกิเลส เรื่องความยากได้เกินพอดี อยากประสบความสำเร็จในชีวิตมากๆ ทำให้เราขาดสติในการใช้ชีวิต ใช้จ่ายเกินตัวจนมีปัญหาหนี้สิน อาจารย์หมอเขียวสอนได้เข้าใจดีมาก เรารู้จักประมาณตนเองมากขึ้น จิตใจสงบมากขึ้น ตั้งหลักในการใช้ชีวิตได้ดีมากเลยค่ะ เราต้องเพิ่งตนให้พ้นทุกข์ให้ได้จะช่วยคนอื่นได้ต่อไป |
นาง | สุมา ไชยช่วย | นำมาดับทุกข์ได้ |
นางสาว | ปภาพิศา มงคลธนาวุฒิ(ณิ) | วันนี้ได้เกิดสภาวะธรรม และได้เข้ามาส่งการบ้านในห้อง zoom สายด่วน เรื่องการทำกับข้าว ได้เข้าครัวเตรียมทำอาหารมื้อเช้าเพื่อที่จะรีบมาฟังรายการธรรมะของท่านอาจารย์หมอเขียว ในตู้เย็นมีผักกาดขาวและมีถั่วลิสงต้ม ใจคิดว่ากินอะไรง่ายๆไม่ต้องยุ่งยาก เพราะเราได้ลดละเลิกการทานเนื้อสัตว์ และเป็นคนอยู่ง่ายกินง่าย ด้วยเหตุไม่ได้ไปตลาดช่วง covid ระบาด คิดว่ามื้อนี้ทำอาหารผัดผักกาดขาวใส่ถั่วลิสงต้ม สภาวะธรรมต่อสู้กิเลสในใจกิเลสเรียกร้องให้ปรุงรสมากมาย ใส่ผัดน้ำมัน แต่ในใจก็ทะเลาะกับตัวเอง กินของมันๆทำให้เจ็บคอมาแล้วไม่รู้จักจำ ให้ปรุงรสโดยใช้เกลือเป็นหลัก กิเลสเรียกร้องใส่น้ำตาล ตามใจกิเลสใส่นิดนึง ทะเลาะอยู่กับตัวเอง สุดท้ายเราก็ชนะคือกินผัดผักรสจืดสนิท กิเลสบอกไม่อร่อยเลย แต่เราชอบรสชาดนี้ ในที่สุดมันก็เป็นอาหารมื้ออร่อยและสบายใจไม่ทำให้ร่างกายเจ็บป่วย ไม่มีปัญหาเรื่องอาหารการกิน แม้ในตู้เย็นมีอะไรก็ทำง่ายๆไปก่อน |
นางสาว | สุดใจ โสะหาบ | จากการที่ได้ฟังธรรมะจากอาจารย์ทุกวันแต่ไม่ได้ฟังทั้งหมดฟังในช่วงที่จัดสรรคเวลาได้ค่ะ ทำให้ชีวิตมีความผาสุกมากขึ้นจะพยายามขจัดความกลัวของตัวเองออกไปต้องกล้ารับในสิ่งที่เรากลัวให้ได้ซึ่งตัวเองมีความกลัวในการที่จะพูดต่อหน้าคนเยอะๆไม่มีความมั่นใจในตัวเองก็เลยตัดสินใจที่จะฝึกความกล้าให้มากขึ้นจะขอกล้าฝึกที่จะพูดกล้าที่จะแสดงออกให้มากขึ้นซึ่งตอนนี้ก็ทำมาได้ระดับหนึ่งแล้วแต่ยังไม่เต็มร้อยจะของพากเพรียรขจัดความกลัวต่อไปจะกล้าทุกข์กล้าโง่ ยินดีทุกข์ ยินดีโง่ รับเท่าไหร่ หมดเท่านั้น โง่เท่าไหร่หมดเท่านั้น |
นาย | ทรงยุทธ อัคโกศล | ตระหนักถึงประเด็นที่อาจารย์เน้นย้ำ "กล้าที่จะไม่ได้ดั่งใจให้ได้" ผมได้ทบทวนตนเองแล้วพบว่าที่ผ่านมาตนเองนั้นมันจะกลัวจะไม่ได้สิ่งที่อยากได้ในทุกๆ เรื่อง เช่นการทำงาน อาหาร การดำเนินชีวิต การเจ็บป่วย ทางออกก็คงต้องฟังและฝึกปฏิบัติตนต่อไปอย่างไม่เร่งผลไม่กังวล |
นางสาว | สุชนา ทิวถนอม | ศีล 5 ผู้ปฏิบัติได้แล้วเมื่อมีเมตตาย่อมผ่องใส เมื่อมีอัตตาน่อมเศร้าหมอง คนมีอัตตาจะมีกิเลส และวิบาก 11 ประการ คนมีเมตตา จะได้รับอานิสสงค์ 11 ประการอะไรเอ่ยเหมือนจริง แต่ไม่จริงเชื่อแล้วทุกข์ อะไรเอ่ย เหมือนไม่จริง แต่จริง เชื่อแล้วพ้นทุกข์ เมตตา คือการปรารถนาดี แจ้งข้อมูลดีๆ ทำตัวอย่างดีๆ เขาจะรับได้เมื่อไรก็เมื่อนั้น |
นางสาว | ณัฐธยาน์เอื้อจำนงค์ | เห็นความกลัวในความคิดของตัวเองจากการที่ไม่กล้าพูดออกสื่อและก็ใด้เห็นความกล้าของตัวเองที่พูดออกสื่อค่ะ |
นาง | อนงค์ ท่าข้าม | ได้ประโยชน์ทุกๆครั้งที่ได้ฟังธรรมและได้นำมาประติบัตรดีต่อชีวิตตัวเองมากเลยค่ะ |
นางสาว | วลัยพักตร์ ชุมทอง | ให้เรามีความกล้าที่จะรับมือกับทุกเรื่องที่เกิดขึ้นไม่ว่าจะดีหรือร้ายเพื่อให้เราได้ใช้วิบากของตัวเอง |
นาง | กานดา ศักดิ์ศรชัย | เข้าใจการแก้ทุกข์ที่เข้าถึงได้ง่ายกว่าเมื่อก่อนที่ใส่ความ กล้าเข้าไปตรงไหนกิเลสที่เป็นความกล้วก็จะหมดไป แต่กว่าจะฝึกให้เกิดได้จริงคงต้องใช้เวลาฟังธรรม ทบทวนธรรม สนทนาธรรมอย่างสม่ำเสมอกับอาจารย์และหมู่มิตรอย่างสม่ำเสมอ |
นางสาว | รัชกร กุลเสวต | ได้ปัญญารู้เท่าทันอวิชชาที่เป็นเหตุก่อให้เกิดทุกข์ในชีวิต ในหลายๆ เรื่อง และมีความกล้ายอมรับวิบากร้ายมุ่งมั่นทำวิบากดีต่อไป |
นาง | อัญชลี โสภา | งดกรรมชั่ว สร้างกรรมดี เรื่องดี เรื่องร้ายที่เข้ามาในชีวิตล้วนแล้วแต่เราทำมาทั้งหมดทั้งสิ้น รับแล้วก็หมดไป สบายใจเบากายมีกำลังเป็นอยู่ผาสุข |
นาง | สนทยา กันทะมูล | กล้าที่จะยอมรับผิดจากการทำสิ่งที่ พลาด พร่อง แบบไม่ทำทุกข์ทับถมตน |
นาง | พรนภา บุรณศิริ | ได้เรียนรู้การผ่าตัดกิเลสเครื่องที่ทำให้เกิดทุกข์ทั้งมวล |
นางสาว | ประภัสสร วารี | พตฎ. เล่มที่ 16 ข้อ 311 มีอะไรก็ทุกข์เพราะอันนั้น พระพุทธเจ้าตรัส "การมีเป็นทุกข์" คนฉลาดจะมีเท่าจำเป็น พอใช้ ไม่ฝืดเคือง เอาเวลามาทำความดี มาด้บทุกข์ผู้อื่น ไม่มีอะไรดีกว่านี้แล้ว วิชาดับทุกข์มีค่าที่สุดในโลก อย่าเสียเวลากับวิชาอื่นนักเลย มาเอาวิชาดับทุกข์นี้เถอะ . พตฎ. เล่มที่ 13 ข้อ 152 ปัญหาที่พระพุทธเจ้าทรงพยากรณ์และไม่พยากรณ์ สิ่งที่ดีที่สุดตอนนี้ ให้หมอผ่าเอาลูกศรออกซะ แล้วค่อยรู้ เธอต้องเรียนวิชา อาริยสัจ 4 ให้เธอพ้นทุกข์ก่อน จากนั้นอยากรู้อะไรค่อยไปรู้ทีหลัง พพจ เน้นวิชาดับทุกข์ก่อนเพื่อน |
นาง | พรพรรณ เอ็ทสเลอร์ | อะไรที่ทำแล้วทุกข์ใจ ให้เลิกซะ ! |
นาง | สนทยา กันทะมูล | |
นางสาว | ศิริพร คำวงษ์ศรี | กล้าทุกข์ ยินดีทุกข์ กล้าสุข ยินดีสุขที่อาศัยได้ กล้าและยินดีในทุกสถานการณ์ให้ได้ ใจก็ผาสุกตามธรรม |
นาง | สุรีนารถ ราชแป้น | ชีวิตกล้าที่หยุดชั่ว มาทำดี มาเสพดีที่ทำได้ และทำจิตใจให้ผ่องใส จะได้หรือไม่ได้ต้องผ่องใส กล้าเสียจะยิ่งไม่เสีย กล้าทุกข์จะยิ่งไม่ทุกข์ กล้าทุกข์จะยิ่งพ้นทุกข์ |
นาง | เครือแก้ว คุณะวัฒนา | |
นาง | ณัฐพร คงประเสริฐ | จงฝึกอยู่กับความเป็นจริงของชีวิต ที่พร่องอยู่เป็นนิตย์ อย่างผาสุกให้ได้ |
นาง | พิมพินันท์ เตียวประเสริฐ | ได้รับฟังธรรมะของอาจารย์แล้วรู้สึกดีและมีความสุขมากขึ้นคะได้ประโยชน์คือใจทุกข์น้อยลงมองอะไรได้ก้วางขึ้นจะพากเพียรปฏิบัติตามที่อาจารย์ต่อไปคะ |
นาง | สุรางค์ โยโกยามา | คิดดีทำดีพูดดีเสนอดี สลายอัตตา สามัตคี ผาสุกประโยชน์าี่ได้รับยินดีพอใจไร้ทุกข์เจอมวลหมู่มิตรดีก |
นางสาว | สุภัคษา เต่าถมตา | สะบายใจใร้กังวลที่ใด้ฟังธรรม |
นาย | สมสิน เสถียรรัตชัย | ฟังแล้วลดทุกข์ มีความทีาดีกับหมู่คณะ |
นางสาว | ณฐิตา อินชัยยงค์ | ไม่มีใครทำดีร้ายกับเราได้ นอกจากวิบากดีร้ายของเราที่ไปยืมคนอื่นให้มาทำ |
นาง | จิตรา พรหมโคตร | อาจารย์เน้นในเรื่อง ความกลัว กังวล หวั่นไหว เป็นทุกข์ เมื่อเรามีอาการดังกล่าวแสดงว่ามีความอยากเกิดขึ้น ให้ตรวจดูตนเองว่าเรามีความอยากอะไร แล้วใช้วิธีการตั้งศีล กล้าและยินดีรับสิ่งที่เกิด กล้ายอมรับ เพราะเป็นสิ่งที่เราทำมา ประโยชน์ที่ได้รับคือ มาทบทวนตนเองว่ามีความอยากให้อาการเจ็บหู ซึ่งเกิดจากไปกินแกงขี้เหล็กเจหาย ก็ตั้งศีลว่า กล้า ยินดี ยอมรับที่จะเจ็บหูและทำใจตามที่อาจารย์สอนว่า"หาย หาย"คืออาการเจ็บหูของเรา เป็นวิบากร้ายที่เคยไปเบียดเบียนผู้อื่นหายไปและได้ชดใช้อีก1เรื่องแล้ว |
นาง | เวียงทอง นุ่นภักดี | เราทำดีที่ตัวเราแล้วเมื่อเราพ้นทุกข์เราจะมีพลังเหยี่ยวนำให้คนอื่นเห็นและทำดีตามแต่ถ้าเรายังทำดีไม่มากพอเราไปบอกให้คนอื่นทำดีเขาก็ไม่เชื่อไม่ศรัทธาดังนั้นถ้าอยากให้ผู้อื่นทำดีเราต้องนับหนึ่งที่เราทำความดีที่เราก่อนแล้วทุกอย่างจะดีเอง |
นาย | พลศักดิ์ สุขยิ่ง | |
นางสาว | รุ่งทิพย์ ศิริคุณ | ทำให้กลัวบาปไม่ใจร้อนไม่ดูถูกใครรู้ว่าต้องทำตนอย่างไรในทุกๆวันมีสติขึ้นค่ะ ไม่ขี้เกียจค่ะ |
นางสาว | วิญญา จันทะพล | |
นาง | กานดา ศักดิ์ศรชัย | |
นางสาว | วันทนีย์ ราษฎร์ดี | โลกนี่ไม่มีอะไรเที่ยง ความกลัว กังวล หวั่นไหวทำให้เกิดโรค ปฎิบัติอริยสี่ให้ถูกตรง ดับทุกข์ให้ได้ พึ่งตนให้ได้ |
นาง | กานดา ศักดิ์ศรชัย | |
นาย | อดิเทพ วรยศ | ใจเย็นข้ามปี บาปทั้งปวงเว้น ไม่ทำ ครับ สัป พะปาปัด สะ อะกะระนัง จำขึ้นใจครับผม |
นางสาว | นิรมล ทองชะอุ่ม | อวิชาจะนำความอยากมาให้ตัณหาความอยากเป็นเหตุแห่งทุกข์ทุกข์ทั้งหมดทั้งมวล |
นางสาว | วิภาวัลย์ ถนัดธรรมกุล | ไม่ยินดีในความยินดี หยุดอยาก |
นาง | อาภรณ์ เบญจานุวงศ์ | ลดความกลัวที่อยู่ในใจ ให้อภัยทุกผู้ทุกนาม |
นางสาว | อ้อน สุลักษณะ | รู้บุญและบาบ ได้รับประโยชนมากมายทำใจรับความทุกข์ทั้งปวงได้ตัดใจได้ |
นางสาว | ภคมน ถิระธรรมถณ | ลดความอยากก็หมดทุกข์ ความอยากคือกิเลสอยากได้อยากมีดิคว่าจะสุขใจพอไม่ได้จะทุกข์ใจพอว่างใจความอยากทั้งหมดได้ใจก็โป่งโล่งสบายใจเกิดขึ้นทันที |
นาง | อาภรณ์ เบญจานุวงศ์ | |
นาง | กานดา ศักดิ์ศรชัย | 16 ตุลาคม 64 สภาวะธรรมที่ได้จากการ ฟังรายการธรรมะพาพ้นทุกข์ วันนี้ได้เน้นย้ำการใช้เครื่องมือสำหรับฆ่ากิเลสจากคำบรรยายของ อจ หมอเขียว คือ กล้ารับยินดีรับ เมื่อได้พบกับสิ่งที่ไม่ต้องการ กล้าให้หมดไป ยินดีให้หมดไปของสิ่งที่ชอบไม่กลัวที่จะหมดไป เพราะเมื่อรับแล้วเรื่องทุกข์ก็จะหมดไป หากยังไม่หมด ก็ทำดีเรื่อยไปใจเย็นข้ามชาติ สาธุ |
นาย | มงคลชัย วิชาธรรม | สภาวะธรรมที่ได้คือปกติเมื่อมีใครก็ตามที่พูดถึงตัวเราฝนทางที่ไม่ดี ก็จะเก็บมาทุกข์ใจ พอได้ฟังธรรมะขออาจารย์ที่ว่า ยั้นคือวิบากร้ายที่เขามาให้เราได้ชดใช้ ใช้แล้วทุกข์ก็หมด ยิ่งหนียิ่งทุกข์ กล้ารับ ยินดีทุกข์ ทุกข์เท่าไหร่หมดทุกข์เท่านั้น ใจก็คลายทุกข์ |
นาง | กาญจนา คงภูชงค์ | ได้ประโยชน์มากๆ ได้ลดอยาก ลดกิเลสตามลำดับ อยากได้สิ่งใดไม่ได้สิ่งนั้นก็เป๊นทุกข์ แต่ยิ่งอยากได้เท่าไหร่ต้องกล้าที่จะทำสวนกันคืออยากอะไรไม่เอาอันนัั้ั้ให้ได้ ทำอริยสัจ4 คบและเคารพมิตรดี ช่วยเหลือผู้อื่นโดยไม่หวังผลตอบแทนแม้คำว่าขอบคุณให้ได้ ใจไร้ทุกข์ ใจดีงามผาสุกสุดๆ |
นางสาว | พันธุ์ทิพา นุชทิม | สภาวะธรรมที่ได้จากการฟังธรรมคือ รู้สึกเคารพและศรัทธาในตัวท่านอาจารย์หมอเขียวมากยิ่งขึ้นเป็นทวีคูณ ประโยชน์ที่ได้รับจากการฟังธรรมจากท่านอาจารย์หมอเขียว 1. รู้สึกชีวิตมีความปลอดภัยมากยิ่งขึ้นที่ได้นำคำสั่งสอนของ อาจารย์หมอเขียวมาใช้ในชีวิตประจำวันและได้นำมาในการคิด วิเคราะห์ในเรื่องของการศึกษาเล่าเรียน |
นางสาว | ฐิตารีย์ ธนัทพงศภัทร์ | วันนี้ได้ธรรมจากอาจารย์หมอเขียว เรื่องการทำจิตใจให้แจ่มใส จะเป็นพลังงานแม่เหล็กที่ดี ที่ดึงดูดในสิ่งดีเข้ามาในชีวิตของเรา เพื่อใช้เตือนสติตัวเอง ให้มีจิตแจ่มใส แกล้วกล้าอาจหาญ เบิกบานแจ่มใสตลอดเวลา |
นาย | คมเวช หงส์เชิดชัย | ประโยชน์ตนเพราะ เจ็บป่วย พึ่งตนให้มาก ประโยชน์ท่านร่วมแบ่งปันสิ่งของ บำเพ็ญบุญ |
นาย | พลัฏฐ์ รัตนวชิรินทร์ | |
นางสาว | ณปภัช เมฆประมวล | เรื่องถือศีล 5, พยายามทำจิตใจให้สงบ, ช่วยเหลือแบ่งปันผู้อื่น |
นางสาว | สมพร โคตรววค์ | ปฎิบัติศีล5เท่านั้น เลิกกลัวโควิดเลย กำจัดความกลัว ด้วยความกล้าในธรรม ยินดีในธรรม |
นาง | วิศน์ชญาพัชร์ ธรรมราช | มีความกลัว,หวาดระแวง,,ไม่สบายใจเมื่อได้ฟังธรรมจากสัตบุรุทจะทำให้คลายคาวมกลัว,หวาดระแวงลงทำให้สบาบใจขึ้น |
นาง | วสา ราญคำรัตน์ | เห็นกิเลส ลด ละ กิเลสได้มากขึ้น |
นาง | กาญจนา คงภูชงค์ | |
นาย | ประพันธ์ โพธิ์คำ เท่ ใจถึงศีล | ก.สภาวะธรรม -ลดกิเลส เพิ่มศีล ได้พลังมหาศาล โรคลดลง ความแข็งแรงเพิ่มมากขึ้น ดับทุกข์ด้วยปัญญา อริยปัญญา ข.ประโยชน์ที่ได้รับ -ตั้งอธิศีล อธิจิต อธิปัญญา เพื่อการปฏิธรรมตามคำสอนของพระพุทธเจ้า พ่อหลวง พ่อครู ท่านอาจารย์หมอเขียว -เลิกเสพสิ่งที่ อยาก ชอบ รัก ต้องการ -ได้รับกำลังใจด้วยตัวเองในการปฏิบัติงดรับประทานอาหารมื้อเย็น และหรือ ในยามวิกาล -งดการสั่งซื้อขนและอาหารว่างต่างๆ -โรคลดลง ลดอาการคันที่บริเวณขาพับข้อเข่าด้านในและตรงบริเวณช่องระหว่าง นิ้วนางและนิ้วก้อย ของฝ่าเท้า -ความแข็งแรงเพิ่มมากขึ้น สุขภาพร่างกายแข็งแรงในด้ารการตื่นเช้าเพื่อร่วมรับฟัง คำบรรยาของท่านอาจารย์ ในช่วงเวลา 04.00 นาฬิกา(เวลา ณ.เมืองดัลลัส มลรัฐ เท็กซัส อเมริกา) เป็นต้นไป |
นางสาว | กมลชนก ทุมวงษ์ | สภาวะธรรมที่ได้จากการฟังธรรมะ มีความสุขทุกครั้งที่อาจารย์พูดธรรมะ บางอย่างไม่เข้าใจก็ได้เข้าใจมากขึ้นจากการฟังบ่อยๆจากบางเรื่องไม่เข้าใจก็ได้เข้าใจมากขึ้นจากการฟังซ้ำๆบ่อยๆ ประโยชน์ที่ได้รับเมื่อมีความทุกข์ใจ ทุกข์กาย หรือมีปัญหาก็ได้น้อมนำธรรมะของอาจารย์หรือบททบทวนธรรมมาแก้ปัญหาได้ทุกครั้งแม้บางครั้งอาจจะต้องใช้เวลาแต่ก็ไม่นานเหมือนเมื่อก่อนทำให้มีความสุขได้เร็วและลดทุกข์ต่างๆได้เร็วมากขึ้น |
นางสาว | วิมลวรรณ สินธุจริวัตร | ทำดีเรื่อยไปใจเย็นข้ามชาติ |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | ฟังแล้วลดทุกได้ จากการนำมาปฏิบัติได้ผลจริง |
นางสาว | ฐิตารีย์ ธนัทพงศภัทร์ | ธรรมที่ได้จากอาจารย์หมอเขียววันนี้ คือการดูแลตัวเองด้วย สมดุลร้อน เย็น ให้มากที่สุด เพราะว่าแต่ละคนมีวิบากที่ต่างกัน วันนี้อาจารย์ยกตัวอย่าง คนที่รักษาตัวหมดไป 20 ล้าน เราก็ได้เรียนรู้ว่า ถ้าเราเพิ่งตนเองเรื่องสุขภาพ เรื่องอื่นๆ สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ก็สะท้อนกลับมาหาเรา ถ้ารับวิบากกรรม กล้ายินดีให้หมดไป ใจก็เป็นสุข ทุกอย่างสำเร็จได้ที่ใจ |
นาง | จุฑามาศ วอล์กเกอร์ | ได้รับทราบข่าวสารบ้านเมือง และท่านอาจารย์วิเคราะห์ข่าวร่วมด้วยทำให้มีวิสัยทัศน์ที่กว้างมากขึ้นตามลำดับนอกจากสาระธรรม |
นางสาว | นฤมล วงศา | ยิ่งฟัง เหมือนตัวเองยิ่งพร่อง ต้องปรับปรุง แก้ไขตนอีกมากมาย หลายครั้งที่ฟังแล้วสะดุ้งเหมือนถูกตำหนีในที แต่มันก็ทำให้ตนมีความเข้มแข็งและตื่นรู้เพื่อการลงมือปฎิบัติมากขึ้น |
นางสาว | รุ่งทิพย์ ศิริคุณ | ได้มีอาการใจเย็นขึ้นไม่ใจร้อนเหมือนเดิมค่ะ |
นางสาว | สัสยา วาทยานนท์ | |
นาง | สมใจ สิทธิพงษ์ | ได้ล้างความกลัวความกังวล ทุกเรื่อง เข้าใจแล้ว่า เราจะได้รับเรื่องอะไรตอนไหน ขึ้นอยู่กับวิบากดี วิบากร้ายทีเราทำมาทั้งหมดทั้งสิ้น |
นาง | นงลักษณ์ ใจมนต์ | ได้เข้าใจและใจเย็นมากๆและได้เข้าใจใช่น้ำในตัวเอง |
นาง | อรทัย มะณู | ได้เข้าใจ |
นาย | 3 ไพบูลย์ รักษาบุญ | ได้รู้สิ่งที่ไม่เคยรู้ ได้รู้ที่รู้แล้วดียิ่งขึ้นไปได้พิจารณาข้อธรรมอยู่เนืองๆ ทำให้จิตใจปล่อยวางไปเรื่อยๆ จิตใจละ ชั่ว ใจเอนเอียงไปทางดี |
นาง | บุญนา บุญศรี | ทำให้ว่าทุกอย่างในโลกนี้ล้วนเป็นอนิจจัง แม้แต่ตัวเราก็ไม่ใช่ตัว ทำให้ปล่อยวาง ละชอบละชังทำปัจจุบันให้ดีที่สุดใจเย็นมากขึ้นมีสติ |
นางสาว | คูณทิพย์ วงษ์สุวรรณ | สมาธิในการฟังมาเป็นบางครั้ง วางใจในการช่วยเหลือผู้อื่น เป็นพรหม 4หน้าจึงจะช่วยเหลือผู้อื่นได้มากที่สุด |
นางสาว | ปภาดา จีนมเริง (ซินดี้) | ได้ความรู้จากการฟังธรรมทำให้รู้จักการดับทุกข์ที่ตน |
นาง | ณัฐพร อาภรณ์ศิริพงษ์ | ทุกสิ่งที่เกิดขึ้นกับเราล้วนแต่เป็นสิ่งที่เราเคยทำไว้ จงยินดีแลเต็มใจรับมันไม่ว่ามันจะเป็นวิบากดีหรือร้าย หมั่นสร้างความดี เมตตา แบ่งปัน ช่วยเหลือผู้อื่นเท่าที่ทำได้จะเป็นกุศลที่ดันวิบากร้ายออกไปจากชีวิต เป็นทางสู่ความดับทุกข์ |
นางสาว | ฐิตารีย์ ธนัทพงศภัทร์ | วันนี้ได้เรียนรู้ว่า การใช้สมุนไพร การปรับสมดุลร้อนเย็น ทำให้หายโรคได้ทุกโรค การปฏิบัติอริยสัจ 4 ที่ถูกตรง จะเพิ่มประสิทธิภาพได้มากกว่า 70 บวกเกิน 100 % ดิน ฟ้า อากาศ ยังเป็นใจ สำหรับคนที่มีอริยศีล อริยปัญญา |
นาย | ธนวินท์ อินทนิล | |
นางสาว | สุทัศณีย์ วงษ์กิ่ง | สภาวะได้เพิ่มปัญญาลดทุกข์ใจกายตามลำดับคะ"ธรรมในะ "ประโยชน์ที่ได้รับลดการใช้ยาแผนปัจจุบันลดค่าใช้จ่ายคะ |
นาง | ศิริพร ขาวไชยมหา | การที่เราโดนกระทำ ให้คิดเสมอว่า เราเคยทำกับเขามามากเท่าไร เช่น เมื่อ20ปีผ่านมาแล้ว ป้าหน่องเป็นลูกคนกลางในจำนวนลูก 6คน ป้าจึงไม่ได้เรียนสูง เหมือนพี่น้องคนอื่น เพราะแม่จะบอกเสมอว่า น้องกำลังเรียนอยู่ ให้ป้าพักเรียนไว้ก่อน และพี่กำลังเรียนสูงต้องใช้เงินมาก ป้าต้องหยุดเรียนก่อน จนเวลาล่วงเลยไปพี่ๆ น้องๆ เขาก็เรียนจบป.ืตรีกันหมด ในขณะที่ป้าเรียนจบ ปวช.การเกษตร อายุก็มากขึ้น พ่อ แม่ก็แก่ลง ป้าไม่ได้ทำงานราชการเหมือนพี่น้อง ป้าจึงได้อยู่บ้านดูแลพ่อแม่ จนกระทั้ง ได้แบ่ง ที่ให้ลูกๆ ป้าจึงมีความคิดและคิดน้อยใจตัวเอง จึงได้ขอที่ดินจากพี่สาว 1 ก้าว ขอจากน้องสาว 1 ก้าว จนกระทั่งพ่อ แม่เสียชีวิตไปแล้ว เวลาผ่านไป 10กว่าปี อยู่ๆ น้องสาวมาสร้างบ้านอยู่ที่ของเขา แต่ติดที่ของป้า ช่างเขามองไม่เห็นหลักโฉนด เขาจึงได้สร้างบ้านเข้ามากินพื้นที่ของป้า ตอนแรกป้าก็โกรธมาก แต่พอน้องเขามาขอโทษ มองว่าไม่ได้ตั้งใจ เมื่อป้าได้มาทบทวนดูแล้วจึงคิดขึ้นมาได้ว่า เราไปเอาของเขามา ก่อนหน้านี้แล้ว สมควรที่เขาจะเอาของเขาคืน ป้าจึงไม่โกรธเขาอีกต่อไป และได้ให้อภัยน้องสาวแล้ว |
นางสาว | วิญญา จันทะพล | เมื่อได้ฟังทุกครั้งก็ได้ประโยชน์และใจสบาย |
นางสาว | พริมรัศมิ์ จิวเลิศเลขา | เรียนรู้ที่จะเข้าใจผู้อื่น ยอมรับในสิ่งที่เกิดขึ้นและรับผลของการกระทำ ด้วยการใช้ปัญญาในการพ้นทุกข์ และนำอริยสัจ 4 ไปขัดเกลาตนเองในการดำรงชีวิตประจำวัน |
นาง | นบชุลี เสาวนา | |
นางสาว | รุ่งรัตน์ นิรนาทล้ำพงศ์ | คิดว่าจะต้องทำกินเอง_พืชรสจืด เลิกกินเนื้อ+ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ ศีลมีความหมายลึกมาก คิดจะรักษาให้ครบ |
นาง | ภัคเปมิกา อินหว่าง | ลดทุกข์ ลดความอยาก ลดความกังวลหวั่นไหว ไม่ยึดมั่นถือมั่น ไม่อยากได้ ไม่อยากมี ทำให้พ้นทุกข์ได้ ตามลำดับ |
นางสาว | สำรวย รัตตนะ | ทุกสิ่งทุกอย่างที่เกิดขึ้นในโลกนี้ไม่ใช่บังเอิญ บางคนต้องอยู่ต่างถิ่น ต่างที่กัน ภูมิอากาศ อาหารการกินก็ไม่เหมือนกันเป็นผลสืบเนื่องมาจากกุศลที่เราเคยทำมา ถ้าไม่ปฏิบัติเพิ่มกุศลนั้นก็จะหมดไป วิบากร้ายก็จะเกิดขึ้น การสร้างกุศลที่แรงที่สุด ดีเยี่ยมที่สุดคือ อริยสัจ4เท่านั้น ประโยชน์ เราต้องละบาปสร้างกุศลเพิ่ม ช่วยเหลือแบ่งปัน ใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับหมู่มิตรดี ปฏิบัติอริยสัจ4 จะทำให้ชีวิตผาสุกได้ |
นางสาว | ประภัสสร วารี | คนที่ยังกินเนื้อสัตว์ ไม่สำนึก บรรลุไม่ได้ ตัวเองกลัวไม่ได้ตามที่อยาก ความเลวร้ายแค่นี้ฝ่าไม่ได้ ตัวเองจะพ้นทุกข์ได้อย่างไร ต้องมีปัญญาที่มาก ด่านที่สำคัญ ถ้าปฎิบัติได้ดีชีวิตพ้นทุกข์ จะบังปัญญา บังโอกาส ชีวิตไม่พ้นทุกข์ ศีลไม่เต็ม ปัญญาจะไม่เต็ม จะมีตัวบัง ผิดศีล จะไม่มีปัญญา พตฎ.เล่มที่ 9 ข้อที่ 194 ศีลมีในบุคคลใด ปัญญามีในบุคคลนั้น ปัญญามีในบุคคลใด ศีลมีในบุคคลนั้น ยังมีกาม จอด กามอยากกินเนื้่อสัตว์ หน้ามืดหมด ปัญญาดับ เป็นเหตุแห่งการเบียดเบียน ปัญญาดับ ปัญญาดับ เพราะผ่าน ศีลข้อ 1 ไม่ได้ วิบากจะบังให้ปัญญดับ |
นางสาว | ธัญญภัสร์ ศรีมา | ทำให้ใจเราไม่คิดทำตามกิเลส |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | ฟังธรรมทุกวัน ได้รับซับทราบสิ่งดีๆ ทุกวัน แล้วนำมาใช้ตัดกิเลสได้ทีละตัว ๆ ค่อยๆ ทำไปค่ะ |
นางสาว | 3สุทัศณีย์ วงษ์กิ่ง | ได้คลายจากความกลัวที่ไม่ได้ดั่งใจ "ไม่ทุกข์ในเรื่องต่างๆที่อยากได้มีปัญญาเพิ่มคะ" |
นาง | ธันญาภัท นันทอัครกุล | รู้สึกฟังแล้วสบายใจ ที่ใจร้อนฉุนเฉียวก็คลายลงขณะฟัง |
นาง | ดลพร ไนเกรน | |
นาง | นิตยาภรณ์ สุระสาย | อรรถกถาแปล เล่ม ๗๖ หน้า ๘๑ (*) นิยาม ๕ อย่าง คือ (*)อุตุนิยาม (*)พีชนิยาม (*)จิตนิยาม (*)กรรมนิยาม (*)ธรรมนิยาม กว่าจะเป็นธรรมนิยามแบบพุทธะ นับล้านปีไม่ถ้าน นานกว่าเต่าตาบอดโผล่สวมเสวียน |
นาง | นิตยาภรณ์ สุระสาย | ๘ สาระวิชาพาพ้นทุกข์ หรือ กำจัดความกลัวด้วยความกล้า ๘ ประการ ๑.กล้าให้เกิดดีที่เกิดได้ ๒.กล้าให้ร้ายที่กลัว เกิดขึ้นได้ ๓.กล้าให้ไม่เกิดดีดั่งใจหมาย ๔.กล้าที่จะไม่ได้เสพพฤติกรรมชั่วที่เคยเสพที่ทำให้ทุกข์ ๕.กล้าทำสมดุลร้อนเย็น ๖.กล้าทำสมดุลเหตุการณ์ ประมาณการกระทำให้พอเหมาะ ๗.กล้าสานพลังกับสัตบุรุษและหมู่มิตรดี ๘.กล้าเกื้อกูลช่วยเหลือผู้อื่น |
นาย | ไพฑูรย์ ทุมพันธ์ | มีความสุขใจมากกว่าเดิม |
นางสาว | สำรวย รัตตนะ | - อริยสัจ 4 ทำสมดุลร้อน เย็น กสิกรรมไร้สารพิษ เศรษฐกิจพอเพียงจะกอบกู้ชีวิตของมวลมนุษยชาติได้ จิตใจจะผาสุก จิตใจดีงาม - ธรรมะ 2 ความรู้สึก 2สิ่งเราเปรียบเทียบว่า ต่างกันอย่างไรอะไรดีกว่ากัน ให้เลือกเอาตัวที่เป็นหนึ่ง ตัวที่ดีกว่า - สมุนไพรที่ดีที่สุดคือสมุนไพรใกล้ตัวดีที่สุดเพราะเขาจะดูดเอาน้ำ อาหาร อากาศ ในบริเวณนั้นมาใช้ เรานำมาใช้ก็จะได้คุณภาพดี จากสภาพอากาศเดียวกัน ประโยชน์ฝึกทำเศรษฐกิจพอเพียงเลี้ยงชีพ ใช้สมุนไพรใกล้ตัว และทุกสิ่งทุกอย่างมี2 เราต้องเปรียบเทียบให้ได้ว่าอะไรดีกว่า ให้เลือกสิ่งที่ดีกว่ามาใช้ |
นางสาว | ปภาดา จีนมะเริง (ซินดี้) | ได้การเรียนรู้จากการดับทุกข์ทำให้เราใจเย็นขึ้นมากทำให้สุขภาพทางกายและใจมีความสุขมากกว่าตอนยังไม่รู้จักแพทย์วิถีธรรม |
นางสาว | ปริศนา อิรนพไพบูลย์ | สาระธรรม การช่วยคนอื่นในการแก้ปัญหาบางทีปัญหานั้นมีหลายเรื่องรวมกันอาจารย์หมอเขียวเสนอวิธีการที่ถูกตรงที่จะช่วยให้เกิดผลเร็วที่สุดคือการบอกให้แก้เป็นเรื่องๆไปอย่าบอกทีเดียวหลายๆเรื่องเพราะจะเกิดความสับสน จากพระไตรปิฎกที่ว่า " ธรรมทั้งหลายไม่อาจแทงตลอดได้ในคราวเดียว " พอเขาไปลองทำแล้วเกิดผลอย่างไรค่อยนำมาบอกกล่าวต่อไปว่าควรจะแก้ปัญหาในลำดับต่อไปอย่างไรหรืออาจต้องปรับเปลี่ยนวิธีการใหม่เป็นต้น |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | ฟังแล้วคลายทุกข์ใจ จากที่เสียใจอยู่นิดๆ ยิ้มได้เลยค่ะ |
นาง | อินต๊ะปัญญา | 🙏กราบคาราวะท่านอาจารย์หมอเขียวที่เคารพยิ่ง กราบสวัสดีพี่น้องจิตอาสา ทุกท่าน เจริญธรรมสำนึกดี มีใจไร้ทุกข์ เข้าห้องZoom พบปะท่านอาจารย์หมอเขียว พี่น้องจิตอาสา พี่น้องนักศึกษาวิชาราม ได้พบปะแลกเปลี่ยนสภาวะธรรม ดูหลายฯคนมีทุกข์เหลือหลาย ทุกข์กายเจ็บป่วย สารพัดโรคภัยไข้เจ็บ ทุกข์ใจ ยากที่จะคลายทุกข์ได้ มองเข้าไปในใจ ที่เบิกบานเห็นถึงดวงจิตที่เป็นกุศลดี ของทุกท่าน คอยชี้แนะ ให้พ้นจากห้วงแห่งทุกข์ โดยไม่กังขาต่อทุกปัญหาที่ได้สอบถามมา ดูเหมือนจะถูกตอบคลายทุกข์ได้อย่างทุกเรื่องได้หมดจด คอยชี้ทางให้สู่ทางพ้นทุกข์ ส่วนการเดินทางเป็นเรื่องของเรา มีข้อมูลมาเล่าให้ปฏิบัติ จะทำก็ได้ ไม่ทำก็ได้ อันไหนดี มีประโยชน์ก็ทำกันไปนะ อันไหนเป็นโทษ ก็ลดละเลิกกันไป แนะนำไป ปล่อยวางไป ตามบุญกุศลของแต่ละคน จะทำก็ได้ไม่ทำก็ได้ พี่น้องจิตอาสามีหน้าที่ทำเป็นแบบอย่างที่ดี เปิดเผยข้อมูลที่ดีออกไป ปล่อยวางใจ ไม่ยึดมั่นถือมั่น ทำแล้วก่อเกิดประโยชน์ต่อตนเอง คนอื่น สัตว์อื่น เป็นประโยชน์ต่อทุกชีวิต ดูแล้วสบายใจ เบิกบานใจ เป็นกุศลอย่างยิ่ง ได้พบเจอสัตบุรุษหมู่มิตรดี สังคมดี ได้เข้าเรียนในห้องเรียนแห่งพุทธะ อริยปัญญา เรียนผ่าตัดกิเลส ทำลายกิเลส ตั้งศีล ลดกิเลส ความกลัว กังวล หวั่นไหวเป็นเหตุให้เกิดทุกข์ เพียงให้ กล้าในธรรม ยินดีในธรรม ดับทุกข์ทั้งหลายทั้งปวงให้หมดไป “กล้าทุกข์ ไม่กลัวทุกข์ ทุกข์ดับไป”สุขสบายใจไร้ทุกข์. 🙏กราบสาธุค่ะ |
นาง | จิตรา พรหมโคตร | ได้เทคนิคในการทำใจเรื่องอย่าโกรธว่า การที่เราได้รับอะไรก็เพราะเราทำมา ส่งเสริม เพ่งโทษ ถือสา ดูถูกชิงชัง หรือไม่ให้อภัยสิ่งนั้นมา เราก็ต้องรับผลจากการกระทำของเรา ประโยชน์ที่ได้รับ ได้นำเทคนิคในเรื่องอย่าโกรธไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน เมื่อมีปัญหากับคนในครอบครัวก็สามารถแก้ไขได้ด้วยการปรับที่ตนเอง กล้ารับ ยินดีรับกับเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นไม่ว่าจะดีหรือร้าย |
นางสาว | ฐิตารีย์ ธนัทพงศภัทร์ | การทานอาหารให้เหมาะสมกับสมดุลร่างกาย ปรับตามสมดุลร้อนเย็น ปรับตามความรู้สึก พร้อมเพิ่มศีล จะได้ประสิทธิภาพมากที่สุด |
นางสาว | วันเพ็ญ ตั้งสกุลวงศ์ | กล้าที่จะไม่ได้ตามที่อยาก กล้าที่จะหมดอยาก, ให้ปฏิบัติอริยศีล, ทำกสิกรรมไร้สารพิษ |
นาง | เวียงทอง นุ่นภักดี | ถ้าเราสู้กิเลสตัวที่มันดื้อมากๆล้างอย่างไรก็ยากให้เราสู้แบบมีปัญญาหักลำกิเลสคือบอกมันว่าอยากทำสิ่งที่อยากสิ่งที่ชอบไปทำเลยแต่ถ้าทำแล้วผลที่ได้คือสุขแค่แว๊บเดียวนะแล้วมันจะสลายไปกลายเป็นทุกข์ ทุกข์หนักมาก ทุกข์แสนสาหัสชั่วกัปชั่วกัลป์เอาไหมล่ะถามกิเลสเชียร์มันเอาไหมทุกข์แล้วกิเลสมันจะงงว่าเรามาแบบไหนชี้แจงให้มันเข้าใจ และเทคนิคทำใจให้หายโรคเร็วคือเราทำดีแล้วเรื่องดีมันไม่เกิดก็อย่าไปทุกข์อย่าไปหนีถ้ายิ่งหนียิ่งเจอวิบากร้าย เราต้องกล้ารับเรื่องที่ไม่ดีรับแล้วแล้วก็หมดไปแล้วเรื่องร้ายๆมันจะเบาบางลง มารมันทำให้เรากลัว เราต้องใช้โอกาสนี้ที่มารปากฏให้เราได้ชำแหละมารใช้โอกาสนี้อ่านกิเลสมารว่ามันจะมาไม้ไหนมันอยากให้เรากลัวเรื่องไหนเรากล้าให้มันเกิดเลยกล้าสู้กับมารเลยแล้วมารมันจะกลัวเราใจเรากล้ารับกล้าให้หมดไปมารก็จะอ่อนกำลังลง |
นาง | จิตรา พรหมโคตร | |
นางสาว | สำรวย รัตตนะ | การกำจัดความกลัวด้วยความกล้าพาพ้นทุกข์8ประการ1.กล้าให้เกิดดีที่เกิดได้ ถ้าเป็นกุศลของเรา และคนที่เกี่ยวข้องออกฤทธิ์2.กลัาให้เกิดร้ายถ้าวิบากร้ายออกฤทธิ์รับเท่าไหร่หมดเท่านั้น 3.กลัาให้ดีไม่เกิดเมื่อมีวิบากร้ายมาขวาง 4.กล้าที่จะหยุดอยากในความชั่วร้ายทั้งปวง 5กล้าทำสมดุลร้อน เย็นกล้าทดลอง 6.กล้าประมาณการกระทำให้พอเหมาะกับสถานการณ์ การงาน 7.กล้าคบเคารพสานพลังกับสัตบุรุษและหมู่มิตรดี 8.กล้าแบ่งปันเกื้อกูลช่วยเหลือผู้อื่นด้วยใจบริสุทธิ์ ประโยชน์เมื่อเกิดเหตุการณ์อะไรขึ้นในชีวิตเราจะต้องแก้ด้วยการกล้ากับสิ่งนั้นจะทำให้เราไม่ทุกข์เพราะกล้าเป็นวิบากดีสุดๆ |
นางสาว | สำรวย รัตตนะ | ไม่มีใครทำทุกข์ทับถมเราได้ นอกจากตัวเราเอง ทุกข์จริงไม่มีแต่เราทำใจตัวเองให้ทุกข์ ประโยชน์นำมาเป็นคติประจำใจกล้ายอมรับกล้าให้หมดไป |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | ท่านอาจารย์สอนเรื่อง กำจัดความกลัวด้วยความกล้าพาพ้นทุกข์ ๘ ประการ อย่าทำถูกทับถมต้นและการรับประทานอาหารวันละ 1 มื้อ กำลังฝึกทานอาหารวันละ 2 มื้ออยู่ ได้1 สัปดาห์แล้ว ส่วนการทาน 1 มือ ยังห่างไกลเหลือเกิน คิดว่ายังทำไม่ได้แน่ แค่ 2 มื้อนี่ก็สุดๆแล้ว เพราะก่อนหน้านี้ทานไม่เลือกเวลาวันละไม่ต่ำกว่า 5 มื้อ แต่เมื่อใดที่ยังฟังท่านอาจารย์อยู่เรื่อยๆคงมีสักวันไม่ชาตินี้ก็ชาติหน้าที่เราสามารถทำได้ค่ะ |
นางสาว | วรวลัญช์ ทรายคำ | ใจนิ่งขึ้นนิดหน่อยเห็นการระงับความโกธร |
นาง | สุรชัย สร้อยสวัสดิ์ | พระพุทธเจ้าทรงสอนวิชาเดียวเท่านั้น คือวิชาเป็นไปเพื่อความพ้นทุกข์ วิชาที่ไม่เป็นไปเพื่อความพ้นทุกข์พระองค์ไม่ทรงสอน เพราะไม่สามารถทำให้คนในโลกพ้นจากสภาพความพ้นทุกข์ไปได้ และวิชาอื่นๆก็แก้ปัญหาให้พ้นทุกข์ได้อย่างแท้จริง หรือแก้ได้ป็นบางครั้งเมื่อวิบากร้ายพ้นไป วิบากดียังคงส่งผลช่วยอยู่ ทำให้แก้ปัญหาได้ระยะหนึ่งแต่พอผ่านไปอีกระยะหนึ่งก็ช่วยไม่ได้ ทั้งทุกข์ทางกายและทุกข์ทางใจ วิชาการทางโลกจึงไม่สามารถพาคนในโลกให้พ้นทุกข์ ห่างไกลจากกิเลสเครื่องเศร้าหมองทั้งหลายได้ ทุกข์เกิดจากกิเลสคือตัณหา ความทะยานอยาก ความอยาก และความกลัวที่จะไม่ได้ตามที่อยาก คือต้นเหตุแห่งทุกข์ทั้งหลายทั้งปวง ไม่ว่าทุกข์ทางกาย หรือทุกข์ทางใจ ก็ตามล้วนเกิดจากความอยากทั้งสิ้น ความกลัวที่จะไม่ได้ตามที่อยากทั้งสิ้น เมื่ออยากก็เกิดทุกข์ ๆ ที่ไม่ได้ตามที่อยาก อยากมากก็ทุกข์มาก อยากมากถึงที่สุดก็ทำลงมือทำชั่วได้ทุกอย่าง เพื่อให้ได้สมใจตามที่อยาก ทำชั่วได้ทุกอย่างเพื่อให้ได้ทรัพย์สินเงินทอง หรือปัจจัยต่างๆที่จะมาสนองความอยากของตน ทำลายแย่งชิงทรัพย์กรณ์ธรรมชาติ ทำให้ทรัพย์กรณ์ธรรมชาติขาดแคลน ธรรมชาติไม่สมดุลเกิด เพราะมีแต่พลังบาปพลังไม่ดี ส่งผลถึงดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดวงดาว โควจรผิดปกติ เกิดปัญหาภัยพิบัติทางธรรมชาติ แผ่นดินไหว น้ำท่วม สึนามิ พายุ เกิดโรคจิดต่อระบาด ปัญหาสังคม การฆ่าชิงวิ่งราว การทำร้ายรุนแรงกันในครอบครัวและสังคม ความเห็นแก่ตัวและปัญหาเศรษฐกิจ ความอดอยากตามมาเป็นเงาตามตัว และแก้ไม่ถูกทาง นั้นคือปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นในโลก โดยเฉพาะปัญหาทางสุขภาพ ปัญหาโรคภัยร้าย ทั้งโรคที่ติดเชื้อ เช่น โรคไต โรคมะเร็งไปจนถึงโรคติดเชื้อ เช่น โรคติดต่อระบาดอย่างรุ่นแรง เช่น โรคโควิด -19 ซึ่งระบาดไปทั่วโลกในขณะนี้ นับว่าเป็นโรคทางกาย ทำให้คนในโลกเจ็บป่วยล้มตายกันมากมาย คนที่ยังอยู่ก็เกิดความ วิตก กังวล หวั่นไหว เพราะความกลัวที่จะติดโรคร้าย กลัวที่จะตายด้วยโรคร้ายก่อนเวลาอันสมควร เกิดเป็นโรคทางใจ ๆ โรคกลัว ๆ ที่จะเป็นโรคโควิด ซึ่งความกลัวนี้มีผลข้างเคียงยิ่งกว่าการติดโรคโควิดเสียอีก ความกลัว กังวล หวั่นไหว ความกลัวที่ไม่อยากเป็นโรค เพราะฉะนั้นทางแก้ก็คือ กล้าที่จะเป็นโควิด แต่ก็ไม่ประมาท ปฏิบัติตามมาตรการสาธารณสุข เมื่อกล้าที่จะเป็นโควิด ไม่กลัวที่จะเป็นโควิดหรือถ้าเป็นโคววิดแล้วก็ไม่กลัวที่จะตาย กล้าที่จะตาย ๆ แล้วเกิดใหม่ก็ทำดีต่อ ในเมื่อป้องกันและระมัดระวังดีแล้ว แต่เพราะวิบากร้าย ๆ เกิดอยู่ที่ไหนก็ติด หนีไม่พ้น ไม่ยึดมั่นถือมั่น ความกลัวไม่มี ความอยากที่จะไม่ติดโรคไม่มี ทำใจให้มีความสุข ตั้งศีล ทำความดี ร่างกายก็หลั่งสารแห่งความสุข พลังชีวิตในส่วนต่างๆ ก็ทำหน้าที่ ไม่ต้องเสียเวลาไปเหนื่อยล้าผลักดันความทุกข์ ความกลัว กล้ามเนื้อก็ผ่อนคลายไม่เกร็งบีบความกลัว ความทุกข์ เลือดลมก็เดินสะดวกดี เม็ดเลือดขาวในระบบภูมิคุ้มกันก็แข็งแรง.มีพลังเต็มต่อสู้กับโรคร้ายได้ อีกทั้งทำสมดุล ร้อนเย็น รับประทานอาหารให้สมดุล มีคุณค่าทางอาหาร ทั้งพืชผักสด ผลไม้สด ธัญพืชต่างๆ และสมุนไพร หลากหลายสีหลากหลายชนิดที่ถูกกับตัวเอง ออกกำลังกายกายบริหาร กดจุดลมปราณ ล้างพิษ กัวซาเอาพิษออก ประคบ อบ พอก ทา แช่ รู้เพียร รู้พักพลังร่างกาย พลังชีวิตที่มีหน้าที่สร้างเสริม ซ่อมแซมส่วนที่สึกหร่อก็ทำอย่างมีประสิทธิภาพ ทำจิตใจให้ผ่องใส ไร้กังวล ลดละเลิกอบาบมุข และกิเลส ทำดีเรื่อยไปด้วยการตั้งศีล อริยศีลเป็นฐานมั่นคง อริยปัญญาแก้ปัญหาก็เกิด และชวนคนทำความดีด้วยการปฏิบัติตามอริยมรรค อริยศีล และยา 9 เม็ด ก็เป็นพลังให้หายทุกข์จากโรคกายโรคใจ สามารถพึ่งตน ชวนคนทำดี หมู่มิตรดี จะเป็นพลังความดี ขับไล่ความไม่มี โรคภัยไข้เจ็บออกไป พึ่งตนด้วยแนวเศรษฐกิจพอเพรียง เกษตรอินทรีย์ไร้สารพิษ มีกินมีใช้พอประมาณ รวมหมู่มิตรดี ทำประโยชน์ ทั้งผู้นำประเทศมีศีลไม่ดำเนินนโยบายสนองกิเลส แก้ด้วยหลักของอริยศีล อริยธรรม อริยปัญญา และที่สุดแห่งธรรมคือหลักอริยสัจ 4 หลักธรรมแก้ปัญหาของพระพุทธเจ้าที่ดีที่สุดในโลก พาทำและพานำหมู่ชนในประเทศ ปัญหาต่างๆ ก็จะแก้ได้ในที่สุด ความสุข สงบ ร่มเย็นก็เกิดขึ้นกลับมาในที่สุด - ประโยชน์ที่ได้รับ คือสามารถนำหลักธรรมอริยสัจ 4 มาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ทั้งหมด และเมื่อเกิดปัญหา ลำดับแรกให้ตั้งศีลก่อนเสมอ แล้วตรวจสอบหาปัญหาทุกข์กาย ทุกข์ใจ ต้นเหตุของทุกข์ สาเหตุเกิดจากอะไร ข้อเท็จจริง ข้อธรรม ทั้งทางโลกและทางธรรม สุขภาพกาย ใจ ข้อปฏิบัติทางธรรม ทางโลก แนวทางปฏิบัติที่จะแก้ปัญหา แก้ปัญหาให้ได้ ทุกข์ก็หมด หรือบรรเทาเบาบางลง |
นาง | ณัชวรรณ ศรีเพชรส่องแสง | ยินดีรับวิบากดีร้ายประโยชน์และโทษของการผิดศีลศีลทานอาหารมื้อเดียว |
นาง | สนทยา กันทะมูล | เราเมื่อก่อน เวลาตั้งจิตอธิษฐาน เรามักจะ ขอให้พบแต่สิ่งดีๆ อย่าให้มีภยันตรายใดมาแพ้วพาน เข้าใจตอนนี้เองค่ะว่า คือการไม่อยากลดกิเลส เพราะมันยาก มันลำบาก คนเราชอบเจอแต่เรื่องที่สบายๆ และถ้าไม่เชื่อชัดเรื่องกรรม ก็คงตั่งจิตขอพบแต่สิ่งดีๆ แบบเดิมอยู่ ปัจจุบันได้ตั้งจิตว่าขอให้ดี/ร้ายเข้ามาพอให้มีแรงใจ แรงกายได้ร่วมบำเพ็ญกับหมู่กลุ่มและอาจารย์ค่ะ สาธุ |
นาง | พิกุล วันจันทร์ | |
นางสาว | นิรมลทองชอุ่ม | ขจัดความกลัวด้วยความกล้า |
นาย | ธวัช อิ่มสิน | |
นางสาว | สำรวย รัตตนะ | การเลี้ยงสัตว์คิดว่าเป็นบุญกุศล รัก สงสารดูแลเขาให้สุขสบายแต่ความจริงแล้วเป็นบาป สร้างวิบากกรรมเยอะมาก ทำให้เขาอ่อนแอดูแลตัวเองไม่ได้ เจริญได้ช้า จิตผูกพันมีความชอบชัง อยากได้นี่นั่นจากสัตว์ วิบากเชื่อมโยงให้เป็นหนี้บุญ สิ่งดีสิ่งร้ายต่อกัน ที่เกื้อกูลกันก็จะตอบแทนกัน และถ้าสัตว์มีวิบากดีอาจจะได้เกิดเป็นมนุษย์ เขาก็จะมีนิสัยสัตว์ สอนธรรมะไม่รู้เรื่อง ทำให้เดือดร้อน เอาเวลาที่เลี้ยงสัตว์มาทำสิ่งอื่นที่เป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคมดีกว่า |
นางสาว | รัตนา กิจครอบครัว | การฟังธรรมทำให้ได้ปัญญา ได้พิจารณาเห็นความลึกซึ้งของอุปกิเสส16 ที่เราต้องนำมาพิจารณาเพื่อตรวจสอบตัวเอง และสุขจากตัณหาเกิดชั่วคราว แล้วหมดไป และจะทุกข์ตามมา เราต้องกล้าที่จะไม่ได้เสพ และไม่กลัวที่จะไม่สมหวัง เพราะนั่นจะทำให้เราเป็นสุขแท้จริง |
นาง | จิตรา พรหมโคตร | อาจารย์เน้นย้ำในเรื่อง"ความกล้าที่จะไม่ได้ดั่งใจ สุขที่สุดในโลก" "ความกลัวไม่ได้ดั่งใจทุกข์ที่สุดในโลก" คนจะมีความกล้าได้ต้องปฏิบัติศีลด้วยปัญญา ประโยชน์ที่ได้รับ ทำให้ตนเองมาตรวจสอบในเรื่องของศีลที่ยังมีข้อพร่องเพื่อเป็นแนวทางในการพากเพียรปฏิบัติต่อไป |
นาง | จิตรา พรหมโคคร | |
นางสาว | ปาวิดา ทองธวัฒน์ | เราต้องคอยตรวจอารมณ์ของตัวเองว่า กลัว กังวล ระแวง หวั่นไหว กับเรื่องใดๆอยู่บ้าง แล้วตั้งศีลกำจัด เราจะได้พบสุขที่สุขที่สุดในโลก |
นาง | ธมกร พลสุวรรณ | เมื่อฟังธรรมรู้สึกปิติ กับความอัจฉริยะ และความตั้งใจ ของท่านอาจารย์ที่มีให้แก่ มวลมวลมนุษย์อย่างมาก ประโยชน์ที่ได้รับคือได้ทราบข้อธรรมที่ศาสดาได้กล่าวถึง และน้อมมาปฎิบัติ. |
นางสาว | พวงเพ็ญ ทองเย็น | ชีวิตต้องกล้ารับทั้งดีและร้ายด้วยใจที่เบิกบานให้ได้ทุกเรื่อง |
นางสาว | ว่าที่ร.ต.หญิงอำนวยพร ดวงโสภา | ได้รู้การปฏิบัติอริยสัจสี่ รู้จุลศีล ได้กำลังใจแรงใจเปลี่ยนจากกลัวเป็นกล้า เปลี่ยนจากคำถามที่ว่าทำไมเป็นเราทำมา ยอมรับ กล้ารับ ยินดีรับวิบากร้ายให้หมดไป ใจสบายสุขใจมากขึ้นไม่สิตก กังวล ลดเครียดได้มาก ลดอาการที่ไม่ได้ดั่งใจมาก เพราะใจร้อนใจอยากได้อะไรต้องได้กล้าที่จะไม่ได้ดั่งใจ ใจเย็นมากขึ้นบางเรื่อง บางเรื่องบ่อยบ่อยก็ไม่เย็นเท่าไรมีสวนบ้างอดทนน้อยบางเรื่อง บางเรื่องอดทนได้ ก็จะพยายามอดทนให้ได้ทุกเรื่องค่ะ เข้าร่วมได้ไม่เต็มเวลาทันบ้างไม่ทันบ้างตามความเข้าใจที่ได้ฟังท่านอาจารย์ดร.หมอเขียวให้ความรู้ค่ะและคณะจิตอาสาทุกท่านที่ให้ความรู้ค่ะจะพยายามตามติดดกาะกลุ่มมิตรดีไปตลอดค่ะบางครั้งอาจตกหล่นบ้างตามสภาวะวิบากร้ายที่กั้นไว้ยังเข้าไม่ถึงค่ะ ขอกราบขอบพระคุณท่านอาจารย์ดร.หมอเขียวและคณะจิตอาสาพี่เลี้ยงทุกท่านค่ะ |
นาง | วสา ราญคำรัตน์ | กล้าที่จะได้รับสิ่งที่ได้ดั่งใจหรือกล้าที่จะไม่ดั่งใจอะไจะเกิดก็เต็มใจรับประโยชน์ทำให้เราสบายใจไม่กังวลกับสิ่งใด |
นางสาว | ณัฐชยา จินตนารุ่งโรจน์ | เรื่องการกินอาหารมื้อเดียว ได้ฟังธรรมจาก อ.หมอเขียว แล้วกลับมามองที่ตัวเองว่าทำไมถึงปล่อยให้กิเลสครอบได้ขนาดนี้ จึงตั้งศีลขอกินอาหารมื้อเดียว |
นาง | ภัคเปมิกา อินหว่าง | |
นาง | สนทยา กันทะมูล | |
นางสาว | สำรวย รัตตนะ | - หลักการปรับสมดุลร้อน เย็น ยึดหลักแรงเต็ม เบาตัว ไม่ว่าร้อนหรือหนาว จุดที่สมดุลจะทนร้อน ทนหนาวได้ดี - คนจะพ้นทุกข์ได้ต้องหมั่นทบทวนธรรม ใคร่ครวญธรรม สนทนาธรรม - เหตุการณ์มีทั้งแพ้ชนะสลับไปสลับมาขึ้นกับวิบากกรรม แต่ชนะกลัว ชนะชั่ว ชนะทุกข์ ชนะได้ตลอด ประโยชน์ ฝึกกลัาแพ้ กล้าชนะให้ได้เก่งแค่ไหนว่าแน่ก็แพ้วิบากร้าย |
นาง | หน่อย นกจันทร์ | ใจเย็นมากขึ้นค่ะและเข้าใจในเหตุผลมากขึ้นค่ะ |
นาง | ราตรี สมหมาย | |
นาย | ประพันธ์ โพธิ์คำ เท่ ใจถึงศีล | ก-สภาวะธรรมที่ได้จากการฟังธรรมะ ต้องกล้าที่เพิ่มศีลให้สูงขึ้น กล้าที่จะได้รับความ ผิดหวัง ไม้ได้ดั่งใจ ไม่ได้ในสิ่งที่สุขสมใจต่างๆ กลัวที่จะได้ดั่งใจปรารถนา กลัวที่จะ ได้ในสิ่งสมใจอยาก ข-ประโยชน์ที่ได้รับ กล่าวคือ ได้ฝึกล้างกิเลสในเรื่องของการ ชอบ ได้ในสิ่งที่ชอบใจ จะสมใจ ชัง ที่จะได้ดั่งใจปรารถนา และได้ปรับเปลี่ยนเป็นพลังในการ ชอบในเรื่องที่ ผิดหวัง ชังในเรื่องที่ได้ดั่งใจยาก |
นางสาว | สุภารัตน์ จันโดน | ใจเราไม่ทุกข์คือชนะตลอดเวลา |
นางสาว | สุวรรณ กังวานนวกุล | เลือกที่จะแบ่งปันให้น้องได้มีโอกาสฟังธรรมะจากท่านอาจารย์ ส่วนตัวเองก็ยินดีพอใจตามที่ได้ |
นางสาว | คูณทิพย์ วงษ์สุวรรณ | ความกล้า 8 อย่าง และ การไม่ทำตามกิเลสตัณหา ถ้าได้สุขสมใจอยากความโง่และความอยากจะเจริญไปเรื่อยๆ |
นาง | นางสุมา ไชยช่วย | กล้าที่ดีจะไม่เกิด กล้าที่ร้ายจะเกิด |
นางสาว | ณัฐชยา จินตนะรุ่งโรจน์ | |
นาง | ภัคภร จันทราสกุล | กล้าที่จะไม่ได้ดั่งใจ สุขสบายใจที่สุดในโลก |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | ท่านอาจารย์สอนเรื่องการรับประทานอาหาร 1 มื้อ ตอนนี้ที่ทำได้คือเริ่มฝึกทาน 2 มื้อ ทำได้ 1 สัปดาห์แล้ว และคิดว่าจะทำได้ตลอด จากก่อนหน้านี้คิดว่าตัวเองจะทำไม่ได้ แต่พอตั้งใจจริงก็ทำได้จริงค่ะ |
นาง | กาญจนา คงภูชงค์ | ยิ่งฟังยิ่งเข้าใจ ทำให้ใจนิ่งขึ้น สุขภาพจิตและใจดีเยี่ยม |
นางสาว | สัสย วาทยานนท์ | ยังเข้าไม่ถึง สิ่งที่ท่านสอน แต่เมื่อเริ่มส่งการบ้านตอนนี้ รู้สึกสภาวะธรรมที่เกิดขึ้นในนี้ |
นางสาว | พุธพรรณ ศรีธรรมูปถัมภ์ | ประโยชน์ที่ได้รับในการเพิ่มศีล เลิกทานเนื้อสัตว์ตลอดชีวิต ทานอาหารมื้อหลักมื้อเดียว เป็นกุศลอันยิ่งใหญ่ที่ได้ทำเพื่อสัตว์ ไม่เบียดเบียนสัตว์โลก ไม่เป็นภาระใคร กินน้อย ใช้น้อย เท่าที่จำเป็นในชีวิต รู้สึกสบายใจ สบายกาย อิ่มบุญ ได้สุขในทุกนาที สบายใจมากขึ้นในทุกๆ วัน ทดลองล้างกิเลสจากการใช้ชีวิตประจำวันที่เคยกิน ใช้ ฟุ้มเฟือย ความอยากทานอาหารที่มีแต่โรคภัยไข้เจ็บ แล้วเราก้อดับกิเลสได้ ไม่อยากทาน ไม่อยากได้ เหมือนเมื่อก่อน รู้สึกสบายมากค่ะ จะขอติดตามบำเพ็ญบุญกับอาจารย์หมอ พี่ๆ น้องๆ จิตอาสาร และหมู่มิตรดีทุกท่านตลอดไปค่ะ สาธุค่ะ |
นางสาว | สัสยา วาทยานนท์ | จะสามารถรับสถานการณ์ทุกๆอย่างได้ เพราะมีข้อมูลประสานงานกันได้อย่างเพียง ฝึกความสามัคคีเคารพหมู่กลุ่ม พอ |
นาง | ณัชวรรณ ศรีเพชรส่องแสง | มั่นใจในศีลและปัญญาที่ถูกตรงจะมีความสุขที่สุดในโลกทั้งในปัจจุบัญแบะอนาคต |
นาง | ประคอง จันทร์ตรั | lผ่าตัดกิเลส กลัว กังวล ระแวง ความหวั่นไหว กลัวเป็นโรคต่างๆ ล่วงหน้า พอได้ฟังธรรมแล้วสว่างกระจ่าง เบาใจ เบากาย |
นาง | ประคอง จันทร์ตรี | เมื่อเราละความไม่พอใจได้ ทำให้เค้ามีเหตุผลขึ้นและสามารถทำงานต่อไปได้สำเร็จ |
นางสาว | วิภาวัลย์ ถนัดธรรมกุล | ลดความอยาก ความกลัว กังวลไปได้มาก |
นาย | คมเวช หงส์เชิดชัย | จางคลายความกลัว ความอยาก พอใจกับสิ่งที่ใทีาเป็น |
นาย | มงคลชัย วิชาธรรม | กลัวไม่ได้ในสิ่งที่อยาก จะทำให้เป็นทุกข์มากขึ้น ถ้ากล้าที่จะไม่ได้ในสิ่งที่อยาก จะทำให้พันจากทุกข์ |
นางสาว | สุภัคษา เต่าถมตา | ทำใจวางใจในสิ่งที่ไม่ชอบ |
นางสาว | อุษา บุตรพรม | ลดกิเลส ได้ ดีขึ้น ตามลำดับ ค่ะ |
นางสาว | ประภาพรรณ โอษฐ์ยิ้มพราย | |
นาย | ประพันธ์ โพธิ์คำ เท่ ใจถึงศีล | ก.สภาวะธรรมที่ได้จากการฟังธรรม กล้าสู่ความพ้นทุกข์ 1.กล้าทำดี กล้าให้เกิดดี….ถ้าวิบากดีออกฤทธิ์ 2.กล้าให้เกิดร้าย…ถ้าวิบากร้ายออกออกฤทธิ์ 3.กล้าให้ดีไม่เกิด ถ้าวิบากร้ายขวาง 4.กล้าที่ไม่อยากทำชั่วทุกอย่าง 5.กล้าทำสมดุล ร้อน - เย็น 6.กล้าที่จะประมาณ การกระทำกิจกรรมการงานให้พอเหมาะ (สัปปุริสธรรม7 มหาปเทศ 4) 7.กล้าคบเคารพและสานพลังกับสัตบุรุษและหมู่มิตรดี 8.กล้าเกื้อกูลช่วยเหลือผู้อื่นด้วยใจบริสุทธิ์ เรากลัวอะไรให้กล้าเป็นสิ่งนั้น… ข.ประโยชน์ที่ได้รับ ในการได้พยายามปฏิบัติตัวตามคำสอน คำบรรยายจาก ท่านอาจารย์ อีกทั้งได้เห็น ได้พยายามค่อยๆเรียนรู้และกล้าแกร่ง ทั้งวิธีและลงมือ ปฏิบัติในการขจัดกิเลสตัวต่างๆ |
นาง | จิตรา พรหมโคตร | |
นางสาว | คูณทิพย์ วงษ์สุวรรณ | |
นาง | หน่อย นกจันทร์ | ลดความกังวล ลดความทุกข์ใจ |
นางสาว | นิรมล ทองชะอม | ความดีเท่านั้นที่จะคุ้มครองเราและจะดูแลเราดูแลเราไปตลอดชีวิตธกส |
นางสาว | จิรานันท์ จำปานวน | ได้ฟังลีลาของมารและอาจารย์ได้สอนให้สวนหมัดกับมารเวลาที่มันมาลวงเราให้ไปกินนอกมื้อ เป็นอย่างที่อาจารย์ว่าเลยเวลาที่จะไปทำงาน มารมันก็มาบอกว่า ดื่มน้ำเต้าหู้สักแก้วก็ดีนะ จะได้มีแรงทำงาน กว่าจะได้กลับมากินอาหารเที่ยง พอกินตามมารปุ๊บแรงก็หายปั๊บกลายเป็นหนักท้องซะงั้นอืดๆเลยค่ะ |
นาง | กัญจนา อบรมชอบ | เมื่อก่อนที่ยังไม่เข้าใจเรื่องกรรมดี กรรมชั่ว จะคิดว่าเมื่อไหร่จะหมดสักทีเวลาป่วยทีไรจะแย่ตลอดแต่พอมารับฟังธรรมะของอ.หมอเขียว พอเรามีศีลที่ดีและเข้าใจเรื่องกรรมอย่างแจ่มแจ้งเราก็มีทางออกที่จะพ้นทุกข์ได้ |
นาง | ภัคเปมิกา อินหว่าง | |
นาง | เกษร อินต๊ะปัญญา | จิตใจิต เบิกบาน เลิก กลัว กังวล ยึดมั่นถือมั่น เรื่องร้ายที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน กำจัดความกลัว ด้วยความกล้า ใช้ความกล้า ชนะความกลัว กล้ารับวิบากร้าย กล้ารับ รับเท่าไหร่ก็หมดไปเมื่อนั้น ชดใช้วิบากร้ายให้มันหมดไป ทำใจให้เบิกบาน ใจไร้ทุกข์ ทำดีเรื่อยไปใจเย็นข้ามชาติ ชีวิตไม่มีอะไรต้องทุกข์ เบิกบาน แจ่มใสดีกว่า สาธุค่ะ |
นาง | เวียงทอง นุ่นภักดี | ได้เห็นอุปกิเลสในตัวเรา และได้พยายามล้างกิเลสหยาบที่เราล้างได้ไปทีละตัวที่เราทำได้ |
นาง | เรือนแก้ว สว่างวงษ์ | |
นาย | มงคลวัฒน์ รัตนชล | ช่วงที่มีเรื่องร้าย หรือเจ็บป่วยจะเป็นโอกาสที่ล้างความกลัวด้วยความกล้า8ประการคือโอกาสที่จะได้เห็นมารเดินโพชฌงค์เริ่มตั้งแต่สติเห็นอาการกลัวแง่ต่างๆของกิเลสแล้วใช้ธัมมวิจัยคือความกล้าทั้งแปดจัดการกับกิเลสกลัวตัวนั้นจนความโง่กลัวสลายไปเท่าที่ทำได้เพียรทำทุกเห็นการทุกผัสสะที่เข้ามาทำได้ก็รู้สึกปิติอิ่มใจที่สลายความกลัวได้เก็บสะสมลงในจิตลงเป็นสมาธิจิตตั้งมั่นในกิเลสตัวนั้นๆไป |
นาย | สุมิตชัย ศรีจันดี | ทุกข์ที่แก้ไม่ได้โดยที่พยายามแก้และทำดีที่สุดแล้วแต่ก็แก้ไม่ได้ก็ให้ยอมทุกข์เลยให้กล้าและยินดีรับทุกข์นั้นทุกข์เท่าไหร่หมดเท่านั้นประโยชน์ที่ได้รับได้ลองนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันสามารถลดทุกข์ได้จริงครับ |
นางสาว | ดวงพร ฤทธิ์ถาวร | การให้ด้วยจิตบริสุทธิ์ ไม่หวังสิ่งตอบแทน อาจารย์ทำดีต่อ ประเทศ และต่อโลก ซึ่งอาจารย์มีจิตอาสาอยู่ทั่วโลก เพราะอาจารย์บอกว่าไม่สามารถทำคนเดียวได้ |
นางสาว | ผาสุข ตันชวลิต | ศีล นำความสุขมาให้ |
นางสาว | นฤมล วงศา | ความกลัวความครั้นคร้ามในการพูดส่งการบ้านหรือพูดออกสื่อ ด้วยใจที่กลัวและไม่พร้อม กลัวพร่องและพูดเร็ว ไม่ได้ใจความ ดังนั้น จึงต้องกำจัดกิเลสความกลัว และให้กล้าที่จะแก้ไขความบกพร่องนั้น ปล่อยวาง พูดผิดพูดถูกก็ไม่กังวล ปรับปรุงไปเรื่อยๆ |
นางสาว | ว่าที่ร.ต.หญิงอำนวยพร ดวงโสภา | ทุกวันนี้กล้ามากค่ะเพราะเวลาไม่ได้ดั่งใจกลัวผิดหวังใจร้อนแต่ตอนนี้เริ่มรุ้สึกไม่หวั่นไหวใจเย็นมากจึ้นแต่ก่อนพอทราบข่าวอะไรที่หวังไม่ได้ดังหวังใจแป้วหดหู่แต่ตอนนี้ใจหนักแน่นแจ่มใสไม่หวั่นไหวเลยค่ะได้ผลค่ะใจนิ่งไม่เจ็บไม่อ่อนไหวหนักแน่นมั่นคงไม่กลัวเลยค่ะค่ะ |
นางสาว | พรทิพย์ อิ่มทุ่งน้อย ก้อย ใจร่มเย็น | การรักษาศีล ทำให้เราพ้นทุกข์ได้ลดการทำบาปลงได้ จิตใจดีมีความผาสุขขึ้น |
นาย | จรูญ สุยะ | ต้องกล้ารับในสิ่่งที่จะเกิดขึ้นไม่ว่าวิบากดีหรือวิบากร้าย |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | เห็นด้วยกับคำสอนท่านอาจารย์ จากการสังเกตสังคม สิ่งแสดล้อม การมีคู่เรื่องร้อนใจจะเยอะ และมักมีปัญหาเมื่ออีกฝ่ายตอบสนองความต้องการไม่ได้ ทำให้รู้สึกลดความสนใจเรื่องการมีคู่จากเดิมอีก |
นาง | พิกุล วันจันทร์ | พึ่งตนเอง |
นาง | สุรีนารถ ราชแป้น | |
นางสาว | ตรีทิพย์นิภา ไทยรักษา | 13/10/64(ตัณหาคือความกลัวกังวลหวั่นไหวต้องสละออกให้ได้ต้องพูดเรื่องสบายใจต้องทำให้ชีวิตพาพ้นทุกข์ให้ใช้ปัญญาให้ได้เกิดแก่เจ็บตายเป็นเรื่องที่ทุกข์หลีกเลั้ยงไม่ได้ |
นางสาว | ประทุมทิพย์ ไชยชิตร | |
นาง | อรวิภา กริฟฟิธส์ | กำจัดความกลัวด้วยความกล้าพาพ้นทุกข์ 8 ประการ คือ 1.กล้าให้ดีเกิดถ้าวิบากดีออกฤทธิ์ 2.กล้าให้ร้ายเกิดถ้าวิบากร้ายออกฤทธิ์ 3. กล้าให้ดีไม่เกิดถ้าวิบากร้ายขวางกั้น 4. กล้าที่จะหยุดอยากในการทำชั่วทุกอย่าง 5. กล้าฝึกทำสมดุลร้อนเย็น 6.กล้าประมารการกระทำให้พอเหมาะเป็นประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น 7. กล้าคบ และสานพลังกับสัตบุรุษหมู่มิตรดี 8. กล้าที่จะช่วยเหลือ เกื้อกูลผู้อื่นด้วยใจที่บริสุทธิ์ผู้อื่น |
นางสาว | ผาสุข ตันชวลิต | เวลาโดนโรคร้าย หรือ เรื่องร้าย นั้นเป็นโอกาสดีที่จะได้ล้างทุกข์ใจ |
นาง | เพ็ญศรี มงคลชาติไทย | มีความรู้สึกภูมิใจที่ได้ความรู้ทางธรรมะและความรู้การพึ่งตนมาใช้กับตัวเราและบุคคลรอบข้าง |
นางสาว | ว่าที่ร.ต.หญิงอำนวยพร ดวงโสภา | |
นางสาว | จรัสพักตร์ จังหวะเพลง | ทำให้เห็นรู้และเข้าใจเรื่องศีลที่ละเอียดลึกกว่าเดิม เห็นกิเลสที่หลากหลายมุม ชัดเจนขึ้น |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | จากการฟังธรรมะที่อาจารย์บรยายถึงอานิสงส์ชองการถือศีล๕ม |
นาง | ณัชวรรณ ศรีเพชรส่องแสง | ไม่มีอะไรมีความสุขเท่ากับดีที่ใจ ในศีลและปัญญา |
นาย | ทรงยุทธ อัคโกศล | ข้อที่ผมได้สภาวะคือ กล้าให้ดีไม่เกิดเมื่อวิบากร้ายขวาง และกล้าประมาณการกระทำของตนเอง |
นางสาว | สุนทรีภรณ์ เพชรจู | |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | สุขกายสบายใจได้ปัญญาค่ะ |
นาง | ชวนพิศ แก้วประดิษฐ | ได้ฟังพระอาจารย์หมอเขียว ดร. ใจเพชร กล้าจน บรรยายธรรมะ ได้ประโชน์ นำมาปฏิบัติ อริยศีล ลด ละ เลิก เนื้อ นม ไข่ ไม่เบียดเบียนสัตว์ ลดกิเลสจากความอยาก ดับทุกข์ในใจ ประโยชน์ได้สิ่งดีๆและบุญกุศล ที่ได้หันมากิน พืช จืด สบาย เบากาย มีกำลัง สุขภาพแข็งแรง ลดค่าใช้จ่าย และได้นำ ยา9เม็ดมาใช้ เอาสมุนไพรในตัวมาใช้ หยอดหู หยอดตา หยอดจมูกทุกเช้า และใช้ชำระล้างร่างกายทั้งตัว สบู่ ยาสีฟันไม่ใช้แล้วค่ะ |
นางสาว | ปภาพิศา มงคลธนาวุฒิ(ณิ) | มีความกล้าในการใช้ชีวิตสันโดษมากขึ้น และดูแลสุขภาพพึ่งตน ตามการใช้หลักยา9 เม็ด มีธรรมะสอนใจตลอดเวลา เพืีอให้เกิดสติ เตือนตนเองเสมอ |
นาง | วราภา ร่าหมาน | ประโยชน์ที่ได้รับคือลดโลบโกรธหลงลงได้เยอะ จิตใจออ่นโยนลงมากและมีใจดีงามใจไร้ทุกข์มีความเมมตาต่อครอบครัวคนรอบข้าง และสัตว์มากขึ้นค่ะ |
นางสาว | นภัสส์นัญท์ มาตย์คำมี | มีความแกล้วกล้า มากขึ้น เมื้อได้ฟัง ธรรม |
นาง | ชวนพิศ แก้วประดิษฐ | ได้ความรู้ดีๆมากมาย ทำให้ชีวิตเปลี่ยน ความคิดเปลี่ยน เปลี่ยนพฤติกรรมการกิน การ ลด ละ เลิก เนื้อ นม ไข่ มาบำบัติรักษาไม่ให้โรคภัย เจ็บป่วยน้อยลง และฟังธรรมะดีมากของพระอาจารย์หมอเขียวบรรยาย เรื่อง อริยสัจสี่ มาดับทุกข์ ดับความอยาก อาหารที่ดีที่สุดในโลกคือ พืช จืด สบาย เบากาย มีกำลัง ธรรมะที่ดีที่สุดในโลกคือ อริยสัจสี่ คือคาถา ของการดับทุกข์ |
นาง | กุลประภัสสร์ สุขบาง | เข้าใจสัจธรรมชาติ, ใีห้ผลเป็นองค์รวมทั้งโลก |
นางสาว | ประภัสสร วารี | กลัวอะไร ให้กล้ารับสิ่งนั้น เป็นวิบากดีที่สุด กายแข็งแรง เลือดลมไหลเวียนสะดวก ดึงสิ่งดี ทำให้สิ่งนั้นไม่เข้ามา หรือเข้ามาน้อย |
นางสาว | ยุวดีสุวรรณชาติ | เข้าใจหลักธรรมที่อจ.สอนเรื่องเพิ่มศีลลดความอยากได้บ้างไม่ได้บ้างจะพยายามทำต่อไป |
นางสาว | นวลนภา ยุคันตพรพงษ์ | จับสักกายะกิเลสในตนได้เร็วแจ่มชัดขึ้นได้รับประโยชน์มากขึ้นทุกวันพบยุทธวิธีคุยกับมารให้เป็นพุทธจนไม่หวั่นไหวกับเหตุการณ์จากคนสัตว์สิ่งของที่เข้ามากระทบ |
นางสาว | ชรินรัตน์ ชุมจีด | |
นางสาว | ณปภัช เมฆประมวล | จิตบริสุทธิ์ |
นางสาว | พันธุ์ทิพา นุชทิม | 26/10/64 ความสุขของคนมั่นใจในธรรมแท้ๆจะไม่มีโรคและเรื่องร้ายๆมีแต่เรื่องดีมากขึ้นๆจะมีแต่ความแข็งแรงมากขึ้น จะมีแต่สิ่งดีๆมากขึ้น และจะตัดลอนสิ่งร้ายลดลง เราจะมั่นใจในธรรมจะมีแต่วิบากดีเท่านั้น (มั่นใจในธรรมจะมีศิล และปัญญา ใจไร้ทุกข์ มีความสุข ประพฤติธรรมใหม่ จะมีแต่เรื่องดีๆ (มั่นใจในศิลและปัญญาแท้ๆที่ถูกตรงชีวิตจะมีแต่สิ่งดีงาม ) ความมั่นใจคือความตั้งมั่น ประโยชน์ที่ได้รับเพิ่มจิตวิญญาณทางธรรมเพิ่มมากขึ้น มีความรู้ ความคิด วิเคราะห์ การประมาณที่ชัดเจนเพิ่มมากขึ้น |
นาง | พรนภา บุรณศิริ | ตัดความอยากในสิ่งที่ไม่ดีออกไปได้หมด สามารถทำความกลัวต่างๆให้เป็นความกล้าที่จะทำสิ่งที่ดีได้ทุกเรื่อง |
นางสาว | อังคณา ทิพย์ผลาผล | กล้าที่จะกลัว กล้าที่จะได้รับๆเท่าไหร่หมดเท่านั้น |
นางสาว | จิรานันท์ จำปานวน | นำคำสอนมาฝึกใช้เวลาที่เจอผัสสะ กล้าที่จะแบ่งปันด้วยใจที่บริสุทธิ์ |
นางสาว | จิรานันท์ จำปานวน | เหตุแห่งการหลุดพ้นจากกิเลส คือ การฟังธรรม แต่ก่อนเคยได้ยินมาว่าทำดีแล้วยังไม่ได้ดี แสดงว่าทำดียังไม่มากพอ ตอนนั้นก็ยังไม่เข้าใจมาก พอมาฟังอาจารย์พูดเรื่องมันจะมีผล 4 แบบนะ ได้แบบเพิ่มขึ้น เท่าเดิม ลดลง และแย่กว่าเดิม ทำให้มั่นใจในธรรม ในศีล ในปัญญามากขึ้น |
นางสาว | วิญญา จันทะพล | ช่วงหลังอาจารย์จะเน้นเรื่องความกล้า กล้าที่จะรับในทุกสิ่งด้วยใจยินดีไม่ว่าจะดีหรือร้าย ประโยชน์คือ ทำให้ใจตนเข้มแข็งมากขึ้นเพราะรับแล้วก็จะหมดไป |
นาง | จิตรา พรหมโคตร | |
นาง | จุฑามาศ วอล์กเกอร์ | สำนึกในศีลข้อที่หนึ่ง ไม่ฆ่า/ กินสัตว์ และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ ซึ่งตัวเองทำได้แล้วและต้องจำนนทำอาหารเนื้อสัตว์ให้ครอบครัวอยู่ ได้รายงานต่อท่านอ่จารย์ในให้แชทซูม แล้วลูกสาวได้ยินด้วยกันกับแม่ แล้วตัวเองก็ไปทำงานตามปกติ พอกลับบ้านตอนเย็นลูกสาวบอกว่า วันนี้ทานอาหารมื้อเดียวและไม่ทานเนื้อสัตว์ด้วยค่ะ กราบขอบพระคุณท่านอาจารย์ |
นาง | ดอกไม้ ปวะบุตร | สรุป เราต้องไม่ทุกข์เมื่อวิบากร้ายเข้ามาไม่หวั่นไหว ยินดีรับยินดีให้หมดไป ทำแต่ดีร้ายไม่เกิดเกิดเท่าไหร่หมดเท่านั่นสภาวะทำที่พบยังหวั่นไหวกับผัสสะมากถึงขั้นเหนื่อยหมดแรงผลของการหวั่นไหวทำให้เกิดทุกข์ทั้งกายและใจวิธีแก้นึกถึงบททบทวนธรรมที่ว่าเราทำมาต้ิงรับรับเท่าไหร่หมดเท่านั้นด้วยจิตใจที่เยิกบานและทำดีเรื่อยไปใจเย็นข้ามชาติ |
นางสาว | อุไร คงแก้ว | ไม่กังวล..ไม่หวั่นไหว..ยอมรับ..ยินดี..รู้เพียรรู้พัก..ทำดีเรื่อยไป..ใจเย็นข้ามชาติ |
นางสาว | ลดาวรรณ เสรีเสถียร | ถ้าเรากล้าในการทำดีเราจะไม่อยากทำสิ่งไม่ดี้เช่นเรากล้ายอมรับผิดที่เราอยากให้คนอื่นทำให้ถูกใจเราซึ่งเขาไม่ทำตามใจเราทำให้เราโกรธและเกิดความขัดแย้งขึ้นตลอด |
นางสาว | อุรา สังข์ชม | |
นางสาว | ธัญญ์นิธิ ภักดีชน | ทำให้ตนเองสามารถทบทวนข้อผิดพลาดในการกระทำำ ปฏิบัติในชีวิตประจำวัน ให้ถูกต้อง และฝึกตัวตนเอวให้ถูกทางมากขึ้นค่ะ |
นางสาว | รสริน สังข์เกื้อ | ได้นำมาปฏิบัติในชีวิตประจำวัน ได้สุขภาพที่ดี ได้มิตรดี. ได้คว่ามจริงใจในกลุ่มหมู่มิตรดี |
นางสาว | สุภารัตน์ จันโดน | พระพุทธเจ้าไม่สอนวิชาอื่น สอนแต่วิชาพ้นทุกข์ ใจเราพ้นทุกข์ช่วยคนอื่นพ้นทุกข์เป็นวิบากดี |
นางสาว | พรรณทิพย์ เทศน์สาลี | เมื่อฟังอจ.บรรยายก็พบว่าควรจะกล้า ที่จะเผชิญในสิ่งที่กลัว เช่นเราอยากให้หลานเชื่อฟังและเถียง จึงมากความรู้สึกว่าไม่ต้องใส่ใจ ไม่ต้องค่ดหวังถึงผล ๆ จะเป็นอย่างไรก็ช่างมีนไม่ต้องกลัว ทำให้จิตใจก็สบาย ไม่ทุกข์ |
นาง | ณัชญ์ชาพัฒ วงศ์วิวิทย์ | ล้างกิเลสที่เกิดจากความทุกข์หนัก ทุกข์แรง เอาออกจากใจไม่ได้ |
นางสาว | ปาวิดา ทองธวัฒน์ | การงดทานเนื้อสัตว์ของเราคือการลดกิเลสหยาบลง กิเลสจะดิ้นไปหากิเลสตัวที่ละเอียดขึ้นคือ ไปกินของหวานมากขึ้น สิ่งที่เราต้องทำคือ ยอมผ่อนตามกิเลส ใช้ปัญญาพิจารณาแล้วคุยกับกิเลส ตั้งศีลตามฐานของเรา แล้วค่อยๆพัฒนาศีลให้สูงขึ้น หากไปตั้งศีลและใช้ปัญญาต่อไปจะติดดี เกิดทุกข์ต่อไป |
นางสาว | เอ็นดู พูลสวัสดิ์ | คนมีศีลจะไม่เดือดเนื้อร้อนใจเบิกบานได้ทุกเวลา |
นางสาว | อมรา อ่อนทรัพย์ | ผู้มีศิลจะทำอะไรมีช่องทางโล้งโปร่่งสะบายไม่มีวิบากร้ายกั้นไม่เดือนเนื้อร้อนใจเบิกบานยินดีได้ทุกเวลามีสมาธิในการกำจัดกิเลสมีจิตใจตั้งมั่นรู้แจ้งเห็นจริงเข้าสู่นิพพาน |
นาง | ภัคเปมิกา อินหว่าง | |
นางสาว | เอ็นดู พูลสวัสดิ์ | โดยรวมที่ได้รับฟังจากอาจารย์ทำให้ได้รับประโยชน์มากในทุกๆกุศลที่อาเจารย์เมตตานำเอามาปฏิบัติ |
นาง | เครือแก้ว คุณะวัฒนา | |
นางสาว | นฤมล ยังแช่ม | เปลี่ยนความกลัวให้เป็นความกล้า จะทำให้ชีวิตพ้นทุกข์ได้ ธรรมะที่อาจารย์บรรยายนั้นมีความละเอียดลึกซึ้งมาก คำว่ากำจัดความเบียดเบียนตนเอง สร้างประโยชน์สุขให้ตนเอง ด้วยความกล้า นี้คือความกล้า พาพ้นทุกข์ ช่วงนี้พยายามที่จะกินอาหารไม่ให้เกิน แต่ก็ยังรู้สึกว่าตัวเองทำได้ไม่ดี เพราะตัวเองมีกิเลสชอบกินข้าว หุงข้าวใส่ดอกอัญชันกับถั่ว กินกับผักลวก โรยเกลือ อาหารสุขภาพแบบธรรดานี้แหละที่เรารู้สึกว่ามันอร่อยจริง ๆ ทำไงเราจะหยุดกินเกินได้ เพราะการกินเกินก็เป็นการเบียดเบียนตนเอง ยังไม่ได้สร้างสุขให้ตนเอง ได้ฟังธรรมะของอาจารย์แล้วก็กลับมาพิจารณา บางทีผี(กิเลส)เข้าก็กินสิ่ิ่่งที่ไม่สมดุลร้อนเย็นกับร่างกาย เช่นข้าวเหนียว กล้วยปิ้ง และถั่วลิสงลายเสือ กินทีไรหยุดไม่ได้สักที กิเลสมันจะมาอ้อนว่า เราก็ลดมาตั้งเยอะแล้ว เหลือแค่ ผลไม้ ผักสด ผักลวก ข้าว ถั่ว ยังจะลดอีกเหรอ บางทีก็มีท้อใจเหมือนกันในการสู้กับกิเลส แต่ยังโชคดีมีหมู่มิตรดีเป็นกำลังใจ ให้ผี(กิเลส)ออกไปได้ กราบขอบพระคุณท่านอ.หมอเขียวที่ท่านมีความเมตตาให้ธรรมะที่พาพ้นทุกข์ จะพากเพียรล้างกิเลสในส่วนเหลือเท่าที่จะทำได้ |
นางสาว | วิลาวัลย์ โพธิปัญญาธนา | ยอมรับความจริง..กล้ารับ.ทำให้มีกำลังใจ.จิตใจเข้มแข็ง |
นาง | จารุวรรณ โกมลกุญชร | เมื่อเกิดปัญหาหรือความทุกข์ใดๆแล้ว ให้ใจสู้ด้วยความกล้าๆ กล้ารับสิ่งนั้นๆ ไปเลย จะเป็นวิบากดี ที่จะดึงดูดสิ่งดีๆ และดันสิ่งร้ายๆ ออกไป ด้วยใจกล้า ใจไม่ทุกข์ เคยทำใจกล้ารับวิบากร้าย ด้วยใจที่ไม่ทุกข์เพราะเข้าใจเรื่องกรรม รู้สึกว่า ความทุกข์ เรื่องร้ายๆ ก้อลดลง ๆ จนกระทั่ง คลี่คลาย จนดีขึ้นๆ ตามลำดับ |
นางสาว | สุทัศณีย์ วงษ์กิ่ง | สรุปสภาวะธรรม"การใช้ชีวิตที่ไม่ฟุ่มเฟือยทำกสิกรรมไร้สารพิษกินอาหารที่ผลิตเองได้ พึ่งตนในยุคมีโรคระบาด(โควิด)ไมต้องเสี่ยงการติดเชื้อ ลดกิเลสลดความอยากได้อาหารสิ่งของและความอยากได้ดั่งใจทำให้เกิดโรคและมีเรื่องร้ายได้ทุกเหลี่มมุมของกิเลลสสั่งการ ทุกข์ที่ทุกข์ที่สุดในโลกคือทุกข์ใจ" ประโยชน์ที่ได้เลิกอยากได้ดั่งใจหมายหมดอาการอยากได้ลดกิเลสที่พาหาทุกข์เอามาใส่ใจมันมีโทษไม่ใช่สุขกายใจคะ" |
นาง | จิราวรรณ ดาโรจน์ | เข้าใจดี นำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้ |
นางสาว | อุรา สังข์ชม | |
นางสาว | วิมลวรรณ สินธุจริวัตร | ทำให้รู้ว่าคนที่ดูแลยากคือรักษาโรคยากเป็นอย่างไรางไร |
นาง | นปภา รัตนวงศา | 16ตค64 กล้าหมดอยากในเรื่องชั่ว มาทำดี ทำกุศลที่ทำได้ ทำจิตใจให้ผ่องใส กล้ารับกล้าให้มันหมดไปในทุกเรื่อง ไม่ประมาททำจิตใจให้ผ่องใส ต้องกล้าที่จะติดหรือไม่ติดโควิด ทุกข์เกิดแล้วก็ดับไป ไม่มีอะไรทำดีกับเราได้ นอกจากความดีของเรา ไม่มีอะไรทำไม่ดีกับเราได้ นอกจากความไม่ดีของเรา พตฎเล่ม 20 ข้อ 167-178 พระพุทธเจ้าตรัส ทุกอย่างเกิดจากการคิด พูด ทำของเราเองทั้งหมด โดยเฉพาะพาตัวเองกับทุกข์อริยสัจสี่ และพาคนอื่นทำด้วย ถ้าวิบากร้ายออกฤทธิ์ จะอยู่ที่ไหนก็เป็นจนได้ เกิดเรื่องจนได้ รับเท่าไหร่หมดเท่านั้น คนเราต้องไม่กลัว กล้าให้ได้ในทุกๆด้าน กล้าแต่ไม่ประมาท ละบาปบำเพ็ญกุศลเป็นอริยธรรม วิบากร้ายคือ สิ่งที่แต่ละชีวิตได้รับอันน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ จะเกิดจาก กายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริตเกิดจากการผิดศีลเป็นไปไม่ได้ วิบากคือสิ่งที่แต่ละชีวิตได้รับอันไม่น่าปราถนาไม่น่าใคร่ไม่น่าพอใจ จะเกิดจากกายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริตเกิดจากการถูกศีล ปฏิบัติศีลเป็นไปไม่ได้ พตฎ 25/402 1.ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งย่อมเกิดขึ้นเพราะความหวั่นไหว(ไม่มีทุกข์ใดที่ไม่เกิดจากความกลัว กังวล หวั่นไหว)ความหวั่นไหวเป็นทุกข์ที่สุด 2.ถ้าไม่มีความหวั่นไหวทุกข์จะไม่เกิด(วิราคะ คลายความอยาก) การพิจารณาเห็นเนืองๆว่า เพราะความหวั่นไหวทั้งหลายนั่นเองดับไปเพราะสำรอกโดยไม่เหลือ ต้องกล้าให้ได้ในทุกๆเรื่อง วันๆจับความหวั่นไหวให้ได้ กล้าที่จะเป็นเรื่องนั้น อ่านให้ออกว่ากลัวเรื่องอะไร กลัวมันจะเข้ามา กลัวมันจะไม่ออกไป พึงสละอวัยวะเพื่อรักษาชีวิต พึงสละชีวิตเพื่อรักษาธรรม (รักษาความกล้าในธรรม) อยากหายสิว กล้าเป็นสิวเลย สละตัณหาแล้ว ดับสังขารทั้งหลายได้แล้ว เป็นผู้ไม่มีความหวั่นไหว ไม่ถือมั่นไม่กำจัดความกลัวจะเสียชาติเกิด ฆ่าความกลัวด้วยความกล้า ด้วยความยินดี คิดในสิ่งที่ตัวเองพ้นทุกข์(อหิงสาวิตก) ยังไม่มีอะไรเข้ามาเลยแต่กลัว พวกนี้โง่ที่สุดในโลก กล้าที่จะขี้เหร่ กล้าที่จะแพ้ แพ้เท่าไหร่ชนะเท่านั้น ผู้ชายจึงฉลาดยอมแพ้ผู้หญิง เสียเท่าไหร่ได้เท่านั้นก็เสียมันหายไปหมดแล้วเพราะไม่มีร้ายมาต้าน เจ็บป่วยจริงๆคือหายโรค ปวดเท่าไหร่ก็หมดเท่านั้นที่เป็นไปแล้วหมดไปแล้ว ตอนนี้เหลือแต่ตัวที่เหลือ รับเท่าไหร่หมดเท่านั้นแล้วจะทุกข์ทำไม จะโง่ไปถึงไหน โง่คือทุกข์ วันคืนล่วงไป ล่วงไป บัดนี้ท่านทำอะไรอยู่ ดีใจจังพลาดอีกแล้ว พุทธะยอดเยี่ยมเอาทุกข์มาล้างทุกข์ได้ ชีวิตอย่าเอาทุกข์มาเพิ่มทุกข์ |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | จะตั้งใจรักษาศีล และเพิ่มศีลให้มากขึ้น แม้จะเป็นไปแบบช้าๆๆๆ. ค่อยเป็นค่อยไปแต่จะไม่หยุดอยู่กับที่ เมื่อใดที่ยังฟังธรรมจากท่านอาจารย์ ชีวิตจะพัฒนาไปเรื่อยๆ ค่ะ |
นาย | ธนวินท์ อินทนิล | |
นาย | สุภาส ลาภเกรียงไกร | ปลงได้กับสิ่งสูญเสีย |
นาง | จำปา ลัคณาสถิตย์ (แอ๋ว) | ขอบคุณอาจารย์ที่เอาธรรมะแท้ๆมาสอนธรรมะนี้คือปัญญาดับทุกข์คือคาถาดับทุกข์ พึ่งต้นให้พ้นทุกข์ได้ |
นาย | กิตติ สิริพณิชพงศธร | ได้ฝึกตรวจหาเหตุแห่งความทุกข์ในใจว่ามาจากความอยากในเรื่องใด แล้วกล้าหาเหตุผลมาลด ละ เลิกความอยากนั้นๆ เพื่อให้ใจหลุดพ้นจากความทุกข์เป็นลำดับๆ |
นาง | ดลพร ไนเกรน | |
นาง | ภัคเปมิกา อินหว่าง | |
นางสาว | วิมลวรรณ สินธุจริวัตร | ยินดีที่จะได้รับสิ่งที่เราไม่อยากให้เกิด ร้ายเกิดก็กล้ารับกล้าให้หมดไป รับเท่าไรก็หมดไปหมดไปเท่านั้น ยิ่งอยากได้ยิ่งไม่ได้ ยิ่งไม่อยากได้ยิ่งได้ |
นางสาว | ธัญญภัสร์ ศรีมา | ช่วยฆ่ากิเลสทักว้นล้างใจกับเหตุการณ์กับเหตุการณ์ที่ที่ไม่ได้ดั่งใจก็ทำใจต้องยอมรับความเป็นจริง |
นางสาว | วาสนา ทูลแก้ว | สภาวะธรรม ได้สำนึกผิดกับสิ่งที่ได้เคยพลาดพลั้งมา ขอโทษ ขออโหสิกรรม และตั้งใจทำแต่ความดี ถือศีล 5, ประโยชน์ที่ได้รับ ทำให้มีสติอยู่กับตัวเองมากขึ้น มีความละอายและเกรงกลัวต่อบาป ทำให้ใจเบามากขึ้น, เวลาเกิดอาการเจ็บป่วยขึ้นกับร่างกายอีกก็พูดกับตัวเองว่า โชคดีอีกแล้ว ร้ายหมดอีกแล้ว |
นาง | พรรณธิพา แย้มบัว | ได้ทบทวนและรููักิเลสรู้นิสัยที่ชั่วร้ายของตัวเอง ที่เราได้รับอยู่นี้คือสิ่งที่เราทำมาทั้งสิ้นทั้งดีและร้าย ได้ประโยชน์จากการฟังธรรมคือ ได้รู้เหตุแห่งทุกข์ และต้องดับที่เหตุนั้น |
นางสาว | สิริรัตน์ ก้าวหน้าวาณิช | ปัญญาในทางธรรมไม่ใช่ความเก่งของเรา แต่มันคือการที่เรามีศีลแล้วปัญญาในทางธรรมจะเกิดขึ้นมาได้ เคยตั้งศีลแล้วทำไม่สำเร็จปัญญาเราจะทึบ ๆ ตัน ๆ ไม่โปร่งไม่โล่ง คิดอะไรไม่ค่อยออก ยิ่งถ้ามีเรื่องอะไรเข้ามาสมองเราหยุดคิดเลย ตอนนี้เริ่มตั้งศีลใหม่แล้ว ว่าจะพยายามลดละเลิกถ้าไม่จำเป็น จะเลิกเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์และจะไม่เบียดเบียนสัตว์ ไม่ทำให้ใครเดือดร้อนเพราะเรา |
นางสาว | อุษา บุตรพรม | ฟังธรรมแล้ว คิดตามตรวจสภาวะจิตตัวเอง พอเจอผัดสะมาจะรู้ติวเร็วขึ้น วางได้เร็วก่วาเดิมมากค่ะ |
นาง | วิศน์ชญาพัชร์ ธรรมราช | ได้คลายความยึดมั่นถือมั่น,ความอยาก,ความกลัวความไม่ได้ดั่งใจกล้าที่จะพัฒนาตนเองให้พ้นทุกข์ |
นางสาว | ประทุมทิพย์ ไชยชิตร | |
นาง | ณัชวรรณ ศรีเพชรส่องแสง | ไม่ตัองชอบไม่ต้องชังไม่ต้องอยากวางจิตให้เป็นกลางๆทุกข์จึงไม่เกิด |
นาง | สุรภี สนธแก้ว | ได้เข้าใจอย่างแจ่มแจ้งว่าที่เราทุกข์นี่เพราะเราโง่ไปโทษคนอื่นว่าทำให้เราทุกข์ ที่จริงเรานั้นแหล่ะโง่ สามีเขานอกใจแอบไปแต่งงานกับผู้หญิงอีกคนพอเรารู้เขาให้เหตุผลว่าเพราะผู้หญิงคนนั้นท้อง ตัวเราก็หาทางออกจากทุกข์ผิดวิธี สวดมนต์ นั่งสมาธิ หลายสำนัก แต่ไม่หาย พอได้ฟังอาจารย์หมอเขียวพูดถึงเรื่องกรรม ให้เชื่องเรื่องกรรมอย่างแจ่มแจ้ง จริงๆแล้วมันเป็นวิบากของเราเอง เราก็หลงไปโทษคนอื่นว่าทำให้เราทุกข์ ตัวเรานี่โง่จริงๆ คนอื่นที่ทำไม่ดีนั้นเขาก็ต้องได้รับวิบากร้ายนั้นเอง เขาจึงไม่ได้ผิดต่อตัวเราแต่เขานั้นผิดต่อตัวเขาเอง ใจเราก็คลายทุกข์ลงไป มีหมู่มิตรดีบอกว่าให้มีเมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา เก็บเอามาคิดว่าจะทำอย่างไรเมตตาคนที่เขาทำผิดกับเรา ฟังอาจารย์ซ้ำๆก็เกิดปัญญา เมตตาคือเอาใจเขามาใส่ใจเราเห็นใจที่เขาก็ต้องทุกข์เหมือนกัน แล้วก็อุเบกขา วางเฉยให้ได้เมื่อได้ทำดีแล้ว ความทุกข์เรื่องนี้ออกไปจากใจเกือบหมดแล้วค่ะ รู้สึกเบากาย เบาใจ นอนหลับเต็มอิ่ม แค่ไม่โง่ทำทุกข์ให้ตนเองค่ะ |
นาง | สมใจ สิทธิพงษ์ | |
นางสาว | ผาสุข ตันชวลิต | มีปัญญามากขึ้นในการกำจัดกิเลสในใจตน |
นางสาว | ทรงรัตน์ พรหมช่วย | ทำให้จิตใจสงบ ค่อยๆปรับความคิดและหาวิธีที่เหมาะกับตัวเองในการปรับเปลี่ยนนิสัยไม่ให้เบียดเบียนตัวเอง |
นาย | สุนทร คำเหลือง | ได้ความคิด ที่ดีต่อตนเอง แต่ถ้าคิดคนอยุ่รอบตัวที่ไม่รู้ เราไม่สบายใจ |
นาง | จิตรา พรหมโคตร | |
นางสาว | ภคมน ถิระธรรมภณ | คนมีปัญญาแม้ตกทุกข์ก็หาสุขพบผู้มีปัญญาชำแลกกิเลสให้เปลี่ยนเป็นพุทธะสิ่งที่ได้รับคือจากความที่ไม่รู้มีความโง่มีความทุกข์มีความหวั่นไหวมีความกลัวอยู่ในตัวแต่พอได้มาเจอสัตบุรุษและหมู่มิตรดีได้ฟังธรรมได้ขัดเกลากิเลสและความทุกข์ออกจากจิตก็สามารถทำให้เข้าถึงความไม่ยึดมั่นถือมั่นวางใจทุกข์ก็ดับและที่สำคัญได้ฟังธรรมจากท่านอาจารย์ก็ได้เปลี่ยนความทุกข์ที่มีอยู่มาเป็นความสุขทั้งกายและใจได้ตลอดมารก |
นาง | ดอกไม้ ปวะบุตร | |
นางสาว | ประภัสสร พงษ์ยศ | คนเราทุกคนย่อมมีวิบากดีร้าย ไม่ว่าจะเกิดวิบากดีหรือร้าย ให้กล้าจะยินดีและยอมรับ ทุกข์ทั้งหมดทั้งมวลจะได้หมดไป มีประโยชน์โดยนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ |
นางสาว | ธัญมน หมวดเหมน(มั่นแสงธรรม) | ทำให้ลดความกลัวเป็น กลัวตาย กลัวโรค เร่งผล กังวล ในเรื่องต่างๆ ในชีวิตลงได้ จากการได้เรียนรู้อริยสัจ 4 เรียนรู้ในอริยศีลทำให้รู้ว่า ถ้าเราปฏิบัติศีลได้อย่างถูกต้อง ถูกตรงด้วยปัญญาอย่างตั้งมั่น เราก็จะมีจิตใจที่มั่นคงมากขึ้นเป็นลำดับ ไม่หวั่นไหวต่อสิ่งเลวร้ายหรือเหตุการณ์ต่างๆที่ไม่น่าปรารถนาที่เข้ามาในชีวิต เพราะเกิดความเชื่อมั่น ตามบททบทวนธรรม ข้อที่ 52 ว่า "เก่งอริยศีลเป็นสุข ไม่เก่งอริยศีลเป็นทุกข์ อยากเป็นสุขจงติเตียนการผิดอริยศีล จงยกย่องการถูกอริยศีล และบททบทวนธรรมข้อที่ 54 ว่าการกระทำทาง กาย วาจา ใจที่ดีงาม คือกำแพงความดีที่คุ้มครองชีวิตเราทั้งในชาตินี้ ชาติหน้า และชาติอื่นๆสืบไป การเรียนรู้อริยสัจ 4 ทำให้เข้าใจและเชื่อชัดเรื่องกรรมอย่างแจ่มแจ้งยิ่งขึ้น ทำให้เรามั่นใจว่า ไม่มีใครหรืออะไรทำดีหรือไม่ดีกับเราได้ นอกจากวิบากดีร้ายของเราเท่านั้นที่ทำดีหรือไม่ดีกับเราได้ เราทำดีก็ย่อมได้รับผลดีเราทำชั่วย่อมได้รับผลชั่ว เพราะเราทุกคนมีกรรมเป็นของๆตน เป็นทายาทของกรรม มีกรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย เมื่อเราเชื่อชัดเรื่องกรรมจะทำให้เราหมดความกลัว เพราะเราทำแต่ดีไม่ทำชั่ว จึงเชื่อว่าผลจากการกระทำดีของเราจะเป็นวิบากดีที่คอยคุ้มครองชีวิตเราให้ปลอดภัย |
นาง | สำรวม แก้วแกมจันทร์ | ฟังธรรมะที่อ.หมอ ดร.ใจเพชร สอน/แนะนำ นักศึกษาาวิชาราม ว่า อาจารย์จะสอยวิชาลดทุกข์ ลดกิเลสนี้แหละ วิชาอื่นที่ลดกิเลสไม่ได้จะไม่สอน ทำให้เกิดความเข้าใจได้ละเอียดขึ้น ลึกซึ่้้ง เห็นกิเลส จับกิเลส ล้างกิเลส ได้ชัดขึ้น เร็วขึ้น เบิกบาน ผาสุกยิ่งขึ้นๆ เป็นลำดับๆ |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | พพจ.ตรัสว่าท่านเป็นหมอผ่าตัดกิเลสเหตุแห่งทุกข์ทั้งหมดทั้งมวล ประโยชน์ที่ได้รับสามารถนำไปดับกิเลสเหตุแห่งทุกข์ทั้งหมดทั้งมวลได้เป็นลำดับ ทำให้สุขใจสุขกายสุขจากเหตุการณ์ไปเป็นลำดับ |
นางสาว | สุดใจ โสะหาบ | จากการที่ได้ฟังธรรมจากอาจารย์หมอเขียวทำให้มีความผาสุกมากขึ้นค่ะได้เข้าใจเรื่องกรรมอย่างแจ่มแจ้งว่าทุกอย่างที่เราได้รับเป็นเพราะเราทำมา ปัจจุบันเข้าใจชีวิตมากขึ้นมีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้นจะไม่โทษโครจะยอมรับว่าเป็นวิบากของตัวเองรับแล้วหมดไปจะได้โชคดีขึ้น และให้อภัยตัวไม่ทำทุกข์ทับถมตนเพราะคนเรามีความพลาดความพร่องเป็นเรื่องธรรมดา และตัวเองเป็นคนที่ไม่มีความมั่นใจในตัวเอง กลัวที่จะพูดต่อหน้าผู้คนเยอะๆ เมื่อได้ฟังธรรมจากอาจารย์ทำให้เอาความกล้ามาใช้ดับความกลัวทำให้มีความมั่นใจในตัวเองมากขึ้นมาฝึกการทำงานร่วมกับหมูมิตร |
นาง | พรพรรณ เอ็ทสเลอร์ | กล้าที่จะถูกคนอื่นเอาเปรียบให้ได้ |
นางสาว | ณฐิตา อินชัยยงค์ | หลายครั้งที่เจอเรื่องร้ายเข้ามาในชีวิตเรามักรู้สึกว่าเรื่องเก่ายังไม่จบ เรื่องใหม่มาอีกแล้ว แต่พอเราได้ฟังธรรมะจากท่านอาจารย์ ทำให้เราปรับเปลี่ยนความคิด ปรับใจเราให้ยินดียอมรับเรื่องร้ายต่างๆให้ได้ การเจอเรื่องร้ายๆเป็นโอกาสที่ดีที่ทำให้เราได้ฝึกทำใจในใจ เมื่อไหร่ที่เรากลัว เราจะคิดกลับเปลี่ยนเป็นกล้า เราต้องกล้าที่จะเจอเรื่องร้ายๆเข้ามาในชีวิตให้ได้ เราต้องกล้าที่จะไม่ทำผิดศีล เพราะการกลัวเรื่องร้ายเข้ามาในชีวิตคือการผิดศีล |
นาง | กัญจนา อบรมชอบ | ได้ความรู้ที่จะแก้ปัญหาได้ |
นางสาว | กมลชนก ทุมวงษ์ | |
นางสาว | อมรา ออ่นทรัพย์ | ผู้นำตั้งอยู่ในธรรรมผู้ตามก็ตั้งอยู่ในธรรมดวงดาวพระอาทิตย์พระจันทน์ก็จะหมุนเวิยนอย่างสมำ่เสมอฤดูและปีก็จะสมำ่เสอมฝนตกต้องตามฤดูกาลข้าวกล้าก็จะสุกเสมอกันหมู่มนุษย์ผู้บริโภคจะมีอายุยืนแข็งแรงผิวพรรณดีจิตใจผ่องใสคิดผูดทำในสิ่ดีเป็นแรงเดี่ยวนำให้ผู้อื่นทำตามจะได้รับผลและวิบากดีแต่ผู้ทุศิลผิดศิลจะได้รับผลตรงกันข้ามจะได้รับวิบากร้ายอายุสั้นผิวพรรณเศร้าหมองคิดผู้ทำแต่สิ่งไม่ดีและเป็นแรงเหนื่ยวนำให้ผู้อื่นทำตาม |
นาง | ใกล้พร ไตรยะสุทธิ์ | ได้ฟังคำให่มๆแลมคชัดขึ้น.ได้เอานำไปไช้ในงานที่ทำพอมีผัสสะมาล้างได้เร็วมากเลย |
นางสาว | อรวรรณ/แดงนวล | ฟังแลัวใจดึขืน |
นาง | ภัคเปมิกา อินหว่าง | |
นาย | ภาคภูมิ ยอดปรีดา | ทำใจให้ไร้ทุกข์ในทุกเหตุการณ์ด้วยการสร้างความกล้าเพื่อมากำจัดความกลัว |
นาย | สุนทร คำเหลือง | ดีใจจัง ที่ไม่ได้ดังใจ ประโยชน์นี้ถ้าคิดขึ้นได้ทันเหตุการ จะมีใจเบิกบาน ผมทำได้ไม่เยอะแต่ทำได้บ้าง |
นาง | เฟื่องฟ้า นภาคะเวช | |
นางสาว | ตรีทิพย์นิภา ไทยรักษา | ดิฉันอารมย์เย็นมากกว่าปล่อยวางได้มาก |
นางสาว | เสาวนีย์ สอนอาจ | |
นางสาว | ชุติวรรณ แสงสำลี | # สรุปสภาวะธรรม ได้เห็นกิเลสตนเองมีหลายเหลี่ยมหลายมุมที่ไม่เคยพบมาก่อน ชัดเจนได้ประโยชน์ ทำความเห็นได้ถูกตรง จะเห็นผลพ้นทุกข์ไปเป็นลำดับๆ ถ้าได้อยู่บรรยากาศช่วงเช้ารับฟังธรรมย้อนหลังที่รายการสดนำมาเปิดซ้ำจะจะจับใจความได้ง่ายมีสมาธิ เป็นเรื่องใกล้ตัว เป็นกิเลสเก่าบ้างที่มองไม่เห็น ก็ได้เห็นกิเลสว่าเรายังมีตัวนี้อยู่ เป็นผลดีในการฟังธรรมซ้ำๆบ่อยๆก็รู้สึกประทับใจทุกเช้าที่มีโอกาสได้รับฟังโชคดี ไม่มีอะไรเที่ยมเท่า #ประโยชน์ที่ได้รับ 1.ได้ฟังสิ่งที่ยังไม่เคยฟัง 2.เข้าใจชัดในสิ่งที่ได้ฟังแล้ว 3.บรรเทาความสงสัยเสียได้ 4.ทำความเห็นได้ถูกตรง 5.จิตของผู้ฟังได้เลื่อมใส |
นางสาว | เพชรี พรหมช่วย | เข้าใจถึงความแตกต่างได้เร็วและชัดขึ้น โดยทางใจเบาสบาย ทางกายมีพลังไม่เครียดตึงนาน |
นางสาว | ดรุณวรรณ แซ่ห่าน | เมื่อได้ฟังธรรมมะของหมอเขียว และสายด่วนจิตอาสา ร่วมถึงการส่งการบ้าน ทำให้เรามีสติปัญญาจิตใจที่เข้มแข็ง แต่ถ้าเราห่างจากหมู่มิตรดีเราจะถูกกิเลสดึงไปขุมนรกได้ง่าย กำลังสู้และจะฆ่ามันกับกิเลสบางตัวอยู่คะ |
นาง | ภัคเปมิกา อินหว่าง | |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | เราต้องกำจัดกิเลสตัณหาราคะความอยากความกลัวว่าจะไม่ได้ตามที่อยาก ต้องกล้าที่จะไม่ได้ตามที่อยาก เพราะมันเป็นสุขลวงสุขหลอกสุขปลอม เก็บไม่ได้ไม่มีสาระ ต้องกำจัดมันออกไป ด้วยการพิจารณาโทษของความอยากประโยชน์ของความไม่อยาก กำจัดมันออกไป ประโยชน์ที่ได้รับต่อไปถ้าได้ตามที่อยากก็สุขใจ ไม่ได้ตามที่อยากก็สุขใจ |
นาง | หน่อย นกจันทร์ | ใจเย็น และมีเหตุผลมากขึ้นค่ะ |
นาง | นปภา รัตนวงศา | 16ตุลาคม 2564 พตฏเล่ม27ข้อ2444 คนมีปัญญาแม้ตกทุกข์ก็ยังหาสุขพบ พตฏเล่ม15ข้อ61ปัญญาเป็นแสงสว่างในโลก พตฏเล่ม 25ข้อ311 คนย่อมบริสุทธิ์ด้วยปัญญา พตฏเล่ม15ข้อ29 แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี พตฏเล่ม14ข้อ683 ไม่พึงละเลยการใช้ปัญญา พตฏเล่ม15ข้อ159ปัญญาเป็นดวงแก้วของคน ส่งกานบ้านมันเป็นกุศลต่อตัวเองต่อผู้อื่น ผิดพลาดเท่าไหร่ก็หมดความผิดพลาดเท่านั้น รับเท่าไหร่ก็หมดไปเท่านั้น อย่าพลาดโอกาสทองของชีวิต พระพุทธเจ้าได้พูดกับปัญจวัคคีย์ เราเคยโกหกเธอไหม เราไม่เคยบอกเลยว่าเราไม่บรรลุ ตอนนี้เราพ้นทุกข์แล้วจงเทศรัทธามาเถิด ปัญจวัคคีย์จึงเชื่อแล้วทำตามจนเป็นปัญจวัคคีย์ทั้ง5 ทั้งที่เป็นพระพุทธเจ้าพอไม่ถูกจริตตัวเองก็ไม่เชื่อแล้ว สาวกแท้ใครจะตาดีรู้จัก ที่มีวิชาพึ่งตนและช่วยคนให้พ้นทุกข์ได้ แต่ถ้าเขารู้เขาจะไม่อยู่เฉยหรอกจะกระตือรือร้น จะเอาใจใส่ศึกษาเรียนรู้แน่นอน ขนาดกษัตริย์เดืนด้วยพระบาทเปล่า จนเดินไม่ไหว ยังคลานต่อไปเพื่อไปเฝ้าพระพุทธเจ้าเพื่อไปศึกษาเพื่อให้ตัวเองพ้นทุกข์ ได้หรือไม่ได้ดั่งใจก็สุขได้ ปัญญาสูตร ลำดับของการเกิดปัญหา 8ขั้นตอนปัจจัย 8ประการย้อมเป็นไปเพื่อปัญญา อันเป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ที่ยังไม่ได้เพื่อความงอกงาม เจริญ บริบูรณ์แห่งปัญญา 1.อาศัยพระศาสดาหรือเพื่อนพรหมจรรย์รูปใดรูปหนึ่งในฐานะครูซึ่งเข้าไปตั้งความละอายความเกรงกลัว ความรักและความเคารพไว้อย่างแรงกล้า 2.เข้าไปไต่ถาม สอบถามเป็นครั้งคราว เพื่อไขความสงสัยให้แจ้ง เปิดเผยข้อที่ยังไม่เปิด เผย อย่าจู้จี้อย่าไปเฝ้า 3.ฟังธรรมแล้ว ย่อมยังสงบ2อย่างคือ สงบกายและสงบจิตให้ถึงพร้อม สงบกายคือจิตที่อาศัยอยู่ในร่างที่ควบคุม กาย วาจา ใจ 4.เธอเป็นผู้มีศีล สำรวมในปาติโมกข์ถึงพร้อมด้วยอาจาระและโคจร(ละอกุศลทำกุศล)เป็นปกติเห็นภัยในโทษแม้มีประมาณน้อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย ขึ้นชื่อว่ากิเลสแม้น้อยไม่มี อรูปภพก็อย่าเก็บไว้จะได้กุศลมหาศาล 5.เป็นพหูสูตร ทรงจำสุดจะ สั่งสมสุตะ เป็นผู้ได้ยินได้ฟังมาก จำได้ เข้าใจ และสอนตัวเองและผู้อื่นได้ 6.เธอย่อมปรารภความเพียรเพื่อละอกุศลธรรม เพื่อความพร้อมมูลกุศลธรรม ปรารภความเพียรเพื่อละอกุศลธรรม 7.เข้าประชุมสงฆ์พูดในเรื่องที่เป็นประโยชน์ แสดงธรรมเองบ้าง เชิญผู้อื่นแสดงบ้าง ไม่ดูหมิ่นการนิ่งอย่างพระอริยเจ้า 8.พิจรณาเห็นการเกิดและความเสื่อมในอุปทานขันธ์5 รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ |
นางสาว | สำรวย รัตตนะ | กล้ารับทั้งดีและร้ายให้ได้ในทุกสถานการณ์จะทำให้เราผาสุก ชีวิตสมบูรณ์ ประเสริฐที่สุด |
นางสาว | ขวัญเรือน ขาวฉลาด | ประโยชน์ที่ได้จากการฟังท่านอ.หมอ ไม่สามารถบรรยายออกมาเป็นคำพูดได้ รู้แต่ว่าประโยชน์ที่ได้เยอะมาก ได้เป็นหมอรักษาตัวเองและได้ช่วยเหลือคนอื่นในคราวที่เขาเจ็บป่วยแล้วเขาได้มาหาจะช่วยแนะนำวิธีรักษาเขาเท่าที่เราจะทำได้ ได๋ประโยชน์จากการทำกสิกรรมไร้สารพิษ ได้ประโยชน์จากการนำสมุนไพรใกล้ตัวมาใช้ |
นางสาว | อมรา อ่อนทรัพย์ | ผู้นำตั้งอยู่ในธรรมผู้ตามก็ตั้งอยู่ในธรรมดวงดาวพระอาทิตย์พระจันทร์ก็หมุนเวียนสมำ่เสมอฝนต้องตามฤดูข้าวกล้าสุกเสมอกันมนุษย์ผู้บริโภคมีอายุยืนผิวพรรณดีประโชยน์ที่ได้รับต้องมีศิลและเพื่มอริยศิลจะได้ไปสู่ภพภูมิที่ดีไม่ไปตกอบายภูมิ |
นางสาว | ศิริพร คำวงษ์ศรี | ความกล้ารักษาได้ทั้งโรคใจและโรคกาย เมื่อกล้าหาญที่จะพ้นทุกข์ ก็จะยินดีในทุกเหตุการณ์ เป็นสิ่งที่พระพุทธเจ้าพร่ำ คือ การกล้าพ้นทุกข์ |
นาย | เอกศิริ ตันติศรีไกรแสง | ไม่เบ็ดเสร็จเด็ดขาดชนะมารไม่ได้ เนื่องจากเคยลดละเลิกดื่มกาแฟและทำได้มนแล้วหลายครั้งแต่ก็ย้อนกลับมาดื่มอีกหลายครั้งเช่นกัน ไม่เด็ดขาดไปสักทีทั้งๆที่จะเลิกก็เลิกได้ แต่ด้วยความไม่เด็ดขาดมันก็ยังกลับมาได้อยู่ พอมาฟังคำสอนของอาจารย์ว่า ไม่เบ็ดเสร็จเด็ดขาดชนะมารไม่ได้ ก็เลยบอกว่าใช่เลยเราไม่เบ็ดเสร็จเด็ดขาดในการล้างกิเลสตัวนี้นี่เองมันจึงวนเวียนมาให้เราเสียเวลากับมันอยู่ได่เรื่อยๆจึงตั้งอธิศีลว่าจะเลิกการดื่มกาแฟอย่างเด็ดขาดให้ได้ |
นาย | เอกศิริตันติศรีไกรแสง | |
นาง | กานดา ศักดิ์ศรชัย | |
นางสาว | สำรวย รัตตนะ | ยิ่งอยาก ยิ่งไม่ได้ เรากล้าที่จะไม่ได้ตามที่อยากใจเราก็จะไม่มีความกลัว กังวล หวั่นไหวไม่มีความยึดมั่นถือมั่นหมดความกลัวแกล้วกล้าอาจหาญ ไม่มีอยากเราก็หมดความทุกข์ จากความอยาก ทั้งหมดทั้งมวลก็ดับเกลี้ยง ประโยชน์ ดูแลใจให้เข้มแข็ง จะทุกข์ใจไปทำไม ไม่มีอะไรเป็นของใคร เบิกบานแจ่มใสดีกว่าะ |
นางสาว | ศิรินภา คำวงษ์ศรี | ใจเบิกบาน ทำให้เกิดปัญญา |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | ยอมรับวิบากค่ะ ทำมามากก็รับไปมากๆ รับหมดเมื่อไหร่ก็จะหายได้เอง |
นาง | ดรุณี อินทนิล | แม้ดีไม่เกิดก็ไม่ทุกข์ ร้ายเกิดก็กล้ายอมรับ รับแล้วหมดไป |
นาง | ธมกร พลสุวรรณ | น้อมคำที่อจ.หมอเขียวสอน มาพิจารณาเห็นความแตกต่าพระหว่างพรหม 4 หน้า และพรหม 3 หน้า ประโยชน์ที่ได้รับ รู้เท่าทันกิเลส. |
นางสาว | นงนุช พาสนาโสภณ | จิตที่ตั้งมั่นและพากเพียรในการล้างกิเลส ทุกลมหายใจเข้าออก ยินดีรับดีร้ายที่เข้ามา ขอบคุณทุกผัสสะที่เข้ามากระทบให้ได้รู้ว่ายังติดอะไรอยู่ เพื่อจะได้ล้างเขาออกไปให้หมด ไม่ให้เหลือแม้แต่ไรๆ ที่มากวนใจ หมดอยาก หมดกล้ว ประโยชน์ที่ได้คือ ใจที่โล่ง โปร่ง สบาย |
นางสาว | ระวีวรรณวงค์กะวัน | เข้าใจและนำไปใช้ไเด้ประโยชน์ในชีวิต |
นางสาว | กมลชนก ทุมวงษ์ | สภาวธรรม ตัวเองโชคดีเหลือเกินที่ได้เกิดมาเป็นลูกศิษย์ท่านอาจารย์ได้เรียนรู้ยา 9 เม็ดหรือเทคนิค 9 ข้อตามหลักการแพทย์วิถีธรรม สำคัญที่สุดเรื่องธรรมะ แค่ทำตามที่ท่านอาจารย์ได้สั่งสอนเรื่องร้ายหรือทุกข์ใจทุกข์กายก็จะบรรเทาเบาบางและหายลง หากเป็นเมื่อก่อนก็คงจะเกิดโรคร้ายต่างๆมากมายเพราะความโง่ ความหลง กิเลส ตัณหา ความไม่รู้ ความอยาก ได้อยากมี และความกลัวของตัวเอง ประโยชน์ที่ได้รับ ได้นำความรู้มาใช้ในชีวิตประจำวันณปัจจุบันที่จะแก้ไขเรื่องราวต่างๆที่เข้ามาในชีวิตด้วยการเรียนรู้อริยสัจ 4 บางครั้งอาจจะช้าบ้าง แต่ก็ได้ฝึกฝนเรียนรู้ไปตามเรื่องราวเหตุปัจจัยต่างๆเหล่านั้น เมื่อเกิดเหตุการณ์ขึ้นซ้ำอีกก็สามารถที่จะแก้ไขปัญหาต่างๆเหล่านั้นได้อย่างฉับพลัน |
นาง | นางราตรี สมหมาย | |
นางสาว | ภนิดา ปินมณี | ได้รับความรู้เกี่ยวการรักตัวเองและผู้อืนมากขึ้น |
นาง | สุรีนารถ ราชแป้น | จากการฟังธรรมเราได้นำความรู้มาเรื่องอริยสัจ4 มาใช้ในการดับทุกข์ใจที่เกิดขึ้นแต่ละครั้งได้เร็วขึ้น ขจัดความกลัว ระแวงหวั่นไหว ที่เกิดขึ้น ทำให้ตัวเองได้มีโอกาส บำเพ็ญ กับหมู่กลุ่มได้มากขึ้น ล้างทุกข์ ได้เร็วขึ้น |
นาง | สุรีนารถ ราชแป้น | จากการฟังธรรม ได้สภาวะที่ยังมีความกลัว กลัวจะไม่เกิดสิ่งดี ไม่ยินดีที่สิ่งไม่ดีเกิด ก็ได้เอามาล้าง ความกลัว ระแวงหวั่นไหว กล้าๆที่จะทำงานช่วยเหลืองานของหมู่กลุ่ม ล้างความกลัวลดทุกข์ฉับพลันได้ส่งผลให้มีงานได้บำเพ็ญมากขึ้น |
นางสาว | สุนันท์ พิมพ์ศรี | ดับทุกข์ใจได้ โรคหาย 70% |
นาง | เรณู ไชยศรี | คลายทุกข์ได้บ้างคะ |
นาง | นบชุลี เสาวนา | สภาวะธรรมที่ได้รับ ขณะรับฟังอาจารย์บรรยายบางวันจะตรงประเด็นกับเหตุการณ์ที่กำลังได้รับ อย่างเช่นเรื่องการกินขนม ทำให้รู้ถึงกิเลสของการติดขนม เมื่อมีเหตุการณ์อะไรเข้ามาพอนึกย้อนไปก็รู้ได้ว่าเราผิดศีลอีกแล้ว ได้ประโยชน์จากการได้เห็นกิเลสที่กำลังเกิด ได้ฝึกล้างกิเลสและเข้าใจเรื่องวิบากกรรมได้มากขึ้น |
นาง | กานดา ศักดิ์ศรชัย | |
นางสาว | วิญญา จันทะพล | |
นาง | รมิตา ซีบังเกิด | ความกลัว กังวล คือกิเลสตัณหา ต้องเปลี่ยนความกลัว กังวลให้เป็นความกล้า จิตใจที่กล้า จะมีฤทธิ์ในการรักษาโรค ประโยชน์ที่ได้รับจากการฟังธรรมคือ ได้ฝึกให้มีความกล้าที่จะทำสิ่งต่างๆได้อย่างมั่นใจ กล้าที่ทุกข์ กล้าที่จะเจ็บ กล้าที่ป่วยฯลฯ การกำจัดความกลัวได้ทำให้พบความสุขกาย สุขใจ |
นางสาว | วิญญา จันทะพล | ตนเองเป็นคนชอบโกรธ ได้รู้วิธีการในการคิดที่จะแก้ไขเรื่องโกรธเพราะเป็นสิ่งไม่ดี |
นาย | สมศักดิ์ แดงอ่อน, | |
นาง | ภัคภร จันทราสกุล | อยากที่จะทำงานให้สำเร็จ เพียบพร้อม สมบูรณ์ ให้ได้ดั่งใจอยาก สามารถวางใจถ้างานไม่สมบูรณ์ดั่งใจอยาก |
นางสาว | พยอม ขวัญเชื้อ | เป็นการได้เรียนรู้ ฝึกฝน การทำงานเป็นทีมร่วมกับการฝึกปฏิบัติงาน การช่วยเหลือเกื้อกูล ความสามัคคีเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน ทำงานภายนอกไปพร้อมกับงานภายใน อ่านใจ กาย(เวทนา) ที่เกิดเมื่อมีผัสสะ ด้วยการใช้อาริยศีล อาริยปัญญา มาชำระล้างกิเลสตน พลังของหมู่มิตรดีเป็นกำลัง เป็นพลังบารมีร่วม เป็นพลังปัญญา ที่ขับเคลื่อนในการต่อสู้กับกิเลสได้เป็นอย่างดี |
นาง | กานดา ศักดิ์ศรชัย | |
นาง | นปภา รัตนวงศา | 17ตุลาคม2564 ยะลาวิกฤติหนักโควิดพุ่งสูง บุคคลากรทางการแพทย์ ER OPD ติดกว่า 30รายรพ.มหาราชนครศรี วิกฤติหนักทั้งจังหวัดติดเชื้อ 520คน อันดับสูงสุด 1ใน5 ไม่สามารถซื้ออาหารที่ดีต่อสุขภาพได้ไม่ถึง 1เดือน/คน ให้ทั่วโลกเร่งทำอริยสัจสี่ที่ถูกตรง วิธีป้องกันโควิด งานวิจัยอาจารย์หายได้ทุกคนโดยใช้ 1.ไม่ประมาท ป้องกันตัวเองเต็มที่ 2.ไม่กลัว กล้ายินดีไม่ติดเชื้อโควิด ถ้าวิบากดีออกฤทธิ์ กล้ายินดีติดเชื้อโควิด ถ้าวิบากร้ายออกฤทธิ์ ก็ยินดีรับ รับเท่าไหร่หมดเท่านั้น กล้าให้ได้ทั้ง2 ข้อ จิตเราก็ไม่มีความทุกข์ พลังจะกลับมาเป็นของเราทั้งหมดเชลล์จะแข็งแรงขึ้น WBC และอินเตอร์เฟอรอล จะฆ่าเชื้อโรคได้ทันทีเพราะกลัวเป็นทุกข์ทำลายภูมิต้านทาน กลัวร่างกายจะเกร็งตัวของดีเข้าไปเลี้ยงไม่ได้ ของเสียก็ออกไม่ได้ โควิดจะเป็นร้อนเย็นพันกัน ความกลัวกังวลหวั่นไหวก่อโรคได้ทุกโรค เวลามีไข้ ถ้ากลัว กังวล ระแวง หวั่นไหวเราเป็นตัวอย่างที่ไม่ดี ว่าเราเป็นคนดูแลสุขภาพ บางครั้งเราก็ต้องช่วยคนก่อน อดทนเอาหน่อยไม่สบายก็แก้ภายหลังได้ ให้เป็นตัวอย่างที่ดีของพุทธะ ไม่ยึดมั่นถือมั่น วางดีก็ได้ ปฎิบัติได้ถูกโรคหายฉับพลัน ถ้าสบายจะหายโรค อวิหิงสาวิตกก็หายโรคแล้ว โรคกลัวติดโควิดร้ายกว่าเชื้อโควิด กลัวเหมือนไม่ได้กินข้าวกินน้ำ อุจจาระปัสสาวะออกไม่ได้ก็ตายเช่นกัน กลัวติดโควิดจะป็นโรคทุกโรค กำจัดความกลัวให้ได้ทุกเรื่องพร้อมทำสมดุลย์ร้อนเย็นไป มีนำ้ใจช่วยเหลือผู้อื่น ความหวั่นไหวคือความขลาดกลัว พตฏ.เล่ม29ข้อ740 ว่าด้วยภัยและความขลาดกลัว ความกลัวก่อโรคก่อเรื่องได้ทุกเรื่อง กล้าที่จะไม่ทำผิดศีล กล้าที่จะไม่ได้ทำตามความอยาก ปฎิบัติศีล5ชนะโควิด เรื่องอะไรจะทุกข์ให้ทุกข์ พตฏเล่ม25 ใช้ปัญญาพิจารณาเห็นเนืองว่า เธอจงใช้ปัญญาตรวจดูเถอะ ทุกข์ทุกอย่างเกิดจากการหวั่นไหว(1) พิจารณาเห็นเนืองๆความหวั่นไหวดับไปเพราะสำรอกโดยไม่เหลือ(วิราคะ) ทุกข์จึงไม่เกิด(2) ทุกข์เกิดจากความหวั่นไหว ถ้าความหวั่นไหวดับทุกข์จึงไม่เกิด สละตัณหาแล้วดับสังขารทั้งหลายได้แล้วเป็นผู้ไม่มีความหวั่นไหวไม่ถือมั่น โควิดง่ายๆจงดับทุกข์ด้วยปัญญา อาจารย์ ชักลึกให้ตื่น หงายของที่คว่ำ จุดไฟในที่มืด บอกทางแก่คนหลงทาง พ้นทุกข์ได้ยากถ้ามีสัตบุรุษ |
นางสาว | วิภาวัลย์ ถนัดธรรมกุล | ได้ความกล้าที่เลิกกลัวด้วยความไม่มีสติ คิดตั้งป้อมไปก่อนว่าทำไม่ได้เลยไม่ได้ทำ |
นางสาว | ว่าที่ร.ต.หญิงอำนวยพร ดวงโสภา | เรื่องอริยศีล เรื่องจากพตป. เครื่องอริยสัจ4 การปรับเปลี่ยนจากความกลัวเป็นความกล้าโดยกล้ายอมรับในสิ่งที่ไม่ได้สมใจอยากไม่ได้ดั่งใจเป็นความกลัวเป็นความกล้ากล้ายอมรับวิบากร้ายกล้ารับรับเท่าไรหมดเท่านั้นทำให้สบายใจขึ้นใจเย็นขึ้นใจหนักแน่นไม่หวั่นไหวอ่อนไหวใจนิ่งสบายขึ้น |
นาย | คมเวช หงส์เชิดชัย | กล้าที่จะไม่ได้ตามที่อยาก |
นางสาว | ปริศนา อิรนพไพบูลย์ | สภาวะธรรม ได้ปัญญาที่ช่วยให้สามารถพิจารณาจนพ้นทุกข์ จากตัวอัตตา ที่ถือสาและไม่ยอมจากการขาดสติ การที่ไม่รู้เท่าทันในความยึดมั่นถือมั่นและลืมการพิจารณา เรื่องกรรมไป จนที่สุดแก้ด้วยการใช้อริยสัจ 4 คือเมื่อทำดีแล้วกล้าที่จะรับร้ายที่เกิดขึ้นให้ได้ขณะเดียวกันก็กล้าที่จะให้ดีไม่เกิดให้ได้ถ้าวิบากร้ายส่งผล ได้เห็นถึง ประโยชน์ ในการฟังธรรม คือ 1 ได้ฟังสิ่งใหม่ที่ไม่เคยได้ฟังมาก่อน ทำให้มีความรู้เพิ่มขึ้น 2 เข้าใจชัดๆสิ่งที่ได้ฟังแล้ว 3 ความสงสัยบรรเทาไปได้ 4 เกิดความเห็นให้ถูกตรงยิ่งขึ้น(เพิ่มสัมมาทิฐิ) 4 เกิดความศรัทธาเพิ่มขึ้นว่าธรรมะที่ถูกตรง พาคนให้ผู้ปฏิบัติตาม พ้นทุกข์ได้จริงๆ |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | คำสอนของท่านอาจารย์ สามารถนำไปใช้ได้ทุกโอกาสทุกสถานการณ์ เป็นจริงและพิสูจน์ได้ทุกเรื่อง |
นางสาว | ภูเพียรธรรม กล้าจน | เมื่อเราหมั่นพิจารณา เห็นความทุกข์ ความอยากได้ อยากมี อยากเป็น ของเรา เราจะเข้าใจมากขึ้น ว่าชีวิตไม่ได้มีอะไร เราจึงควรสร้างวิบากดี ให้เราได้อาศัย ทั้งชาตินี้ ชาติหน้าและชาติอื่นๆ สืบไป เพราะการทำบาป ผิดศีล ทำให้เราเป็นทุกข์ ไม่เป็นสุขยั่งยืน ได้เพียงสุขแว๊บเดียว แล้วก็ต้องหามาใหม่อยู่อย่างนั้น สู้การทำกรรมที่ใจไร้ทุกข์ ใจดีงาม ให้เราได้อาศัย ไปตลอดกาลนาน ดีกว่า สุขสบายใจที่สุดในโลก |
นางสาว | กุหลาบ วงษ์ลุน | ฟังธรรมะจากอาจารย์แล้วมีพลังใจในการกล้าตั้งศีลขึ้นมาปฏิบัติเลิกกลัวว่าจะทำไม่ได้ ได้ เท่าไกหร่เอาเท่านั้น |
นางสาว | ปัทมา ลีฬหาวงศ์(หมู)ในคำพร | เข้าใจความจริงของทุกชีวิต ความหวั่นไหวคือเหตุแห่งทุกข์การดับทุกข์ต้องดับที่เหตุการเรียนรู้อริยสัจสี่สามารถชนะทุกข์และโรคต่างๆได้ |
นาง | ยุพิน หมายชื่น | |
นาย | ธนวินท์ อินทนิล | |
นาย | สุภาพ พงศ์สุวรรณ | ลดความอยากลงได้บ้างครับ |
นาง | ยุพิน หมายชื่น | |
นางสาว | นฤมล วงศา | |
นางสาว | นฤมล วงศา | |
นาง | ภัคเปมิกา อินหว่าง | |
นาง | ยุพิน หมายชื่น | |
นางสาว | ปาวิดา ทองธวัฒน์ | ตั้งศีลและปฎิบัติให้ถูกตรงตามลำดับ โดยไม่เร่งผลกังวลจะสามารถกำจัดกิเลสได้เร็ว เกิดผาสุขได้เร็วที่สุด |
นาง | จิตรา พรหมโคตร | ได้นำธรรมะของท่านอาจารย์ไปใช้ในการต่อสู้ล้างกิเลสของตนเองในเรื่องความกลัวของอาการไม่มีแรงจากการฝึกลมหายใจจนหายจากความไม่มีแรงกลับหายฉับพลัน |
นาง | เวียงทอง นุ่นภักดี | การตั้งศีลเป็นการเริ่มต้นที่จะเห็นกิเลสมารในตัวเราและทำให้เรามีโอกาสอันดีที่จะปราบกิเลสมารด้วยการกล้าที่จะไม่ได้ตามที่อยากกล้าทำในสิ่งดัและละอายในการทำสิ่งชั่ว |
นาง | ภัคเปมิกา อินหว่าง | |
นางสาว | ฐิตารีย์ ธนัทพงศภัทร์ | การทำสมดุลร้อนเย็น เป็นรูปธรรม ตามหลักยา 9 เม็ด และปฏิบัติอริยศีล ทำให้มีฤทธิ์ 70 %+ เกินร้อย มีใจไร้ทุกข์ ใจดีงาม จะได้ประสิทธิภาพสูงสุด |
นาง | ยุพิน หมายชื่น | เป็นสภาวะธรรม เกี่ยวกับกายและใจเป็นทุกข์จากกิเลสที่ครอบงำ ใจสั่งให้กายทำตามความอยากสารพัดเกิดววิบากร้าย11ประการ เหนี่ยวนำทุกข์และผู้อื่นให้เกิดทุกข์ กลัวไม่ได้ตามที่อยาก ทำดีทำชั่วสะสมไว้ ต้องไปรับทุกข์และสุข วนไป ..จึงต้องกล้าที่จะไม่ได้ตามที่ใจอยาก กลัาที่จะให้ไม่ได้ตามใจอยากหมดไป ไม่ติดดี ยินดีที่จะให้ทุกข์ดับไปโดยไม่ยึดติด จึงจะผาสุก..ประโยชน์ นำธรรมะไปใช้ในการตรวจกายใจ ค่อยๆกะเทาะกองกิเลสในชีวิตประจำวันจากเรื่องใกล้ๆตัวง่ายๆให้เบาบางลงเรื่อยๆ |
นางสาว | ปภาพิศา มงคลธนาวุฒิ (ณิ) | ได้ลดละเลิกเนื้อสัตว์แล้ว ก็ลดละเลิกกิเลสเรื่องข้าวของเครื่องใช้ พวกของที่ทำให้เราทุกข์เพราะไม่มีความจำเป็น เมื่อเกิดปัญญาทำให้ไม่เคยไปหาซื้อเสื้อผ้า ชอปปิ้ง เรืีองของเซลล์ตามร้านค้าและห้างไม่สนใจเลย |
นาง | พิกุล วันจันทร์ | |
นางสาว | ประภัสสร วารี | |
นาง | ภัคเแมิกา อินหว่าง | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | ทุกคำสอนของท่านอาจารย์ มีคุณค่าเสมอ ถ้านำไปปฏิบัติตัดใจได้จริง จะนำเราไปสู่ความเป็นอริย... |
นาง | ณัชวรรณ ศรีเพชรส่องแสง | อยากแบบไม่ยึดมั่นถือมั่นก็ไม่ทุกข์มีปัญญาเห็นชอบพากเพียรมีปัญญาให้ถูกตรงทางสายเอก |
นางสาว | สำรวย รัตตนะ | ความกลัวกังวลระแวงหวั่นไหว สาเหตุมาจากตัณหาความอยาก ทำให้เกิดทุกข์ใจ ทุกข์กายเกิดเรื่องร้าย เหนื่ยวนำให้คนอื่นเป็นตาม นำเรื่องร้ายมาใส่ตนได้ตลอดกาล |
นาง | เฟื่องฟ้า นภาคะเวช | |
นางสาว | รุ่งนภา เพ่งรุ่งเรืองวงษ์ | การักษาใจด้วยธรรมะ |
นาง | อาทิชา พรมมี | สภาวะธรรมที่ได้รับจากการฟังธรรม : กล้าที่จะยอมรับผลวิบากกรรมที่เราจะได้รับ ตามกรรม วิบากกรรมทึ่ได้กระทำมา ทั้งอดีต ปัจจุบัน และ อนาคต ที่จะพบปะวิบากกรรมที่เคยกระทำมา กล้าให้เกิดดี กล้าให้เกิดวิบากร้าย กล้าให้เกิดไม่เกิดเมื่อวิบากร้ายขวาง |
นาง | ศิริพร ขาวไชยมหา | ป้าได้ฝึกการหายใจ กดจุด ออกกำลังการ ทำโดยคะ ตามอาจารย์หมอเขียวทุกวัน และลุงก็ทำตาม ลุงมองไม่เห็นแต่ยังได้ยิน ลุงก็ทำเท่าที่ทำได้ |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | ไม่แปลกเลยจริงๆที่เราแนะนำใครแล้วเขาไม่ยอมฟัง ส่วนเรื่องการแต่งหน้าเลิกได้นานเป็นปีแล้ว หลังจากที่ได้รับฟังคำสอนของท่านอาจารย์ |
นางสาว | คูณทิพย์ วงษ์สุวรรณ | ได้ตรวจสอบสภาวะธรรม ล้างกิเลสไปทีละเรื่องๆ ได้ประโยชน์มากๆมึทุกข์ใจน้อยลง |
นางสาว | สุภารัตน์ จันโดน | เราเป็นลูกของพระพุทธเจ้า เราฝึกเป็นอริยะ ความทุกข์ของเราก็เท่ากับฝุ่นปลายเล็บ เมื่อเจอผัสสะทำให้คิดถึงบทนี้ความทุกข์ใจเล็กน้อยก็หายไปทุกครั้งค่ะ |
นางสาว | ปาวิดา ทองธวัฒน์ | เราต้องเมตตากรุณาคนอื่น เพราะเขาไม่รู้ |
นาง | กานดา ศักดิ์ศรชัย | |
นางสาว | วิมลวรรณ สินธุจริวัตร | อย่าอิจฉาคนที่ได้ดีกว่าตนเอง ให้ยินดีและแนะนำให้เค้าทำสิ่งที่ดีให้เค้าได้ดียิ่งๆขึ้นไป |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | เห็นภาพบรรยากาศลงแขกเกี่ยวข้าวกลางทุ่งนา ทำให้ความรู้สึกคิดถึงความหลัง เมื่อตอนเด็กๆที่บ้านก็ทำนา แต่ไม่เพียงพอเลี้ยงชีพ. อยู่แบบกระท่อนกระแท่น เพราะทำนายขาดทุนตลอด สุดท้ายพอหาเลี้ยงชีพได้สบายขึ้นนิดหน่อย จากการรับจ้างงมแห้ว เพราะไม่ต้องลงทุน คงเป็นเพราะคนทั้งครอบครัวยังไม่มีศีลมากพอถึงต้องมีทุกข์ยากและลำบาก และไม่เห็นคุณค่าของการทำนา ปัจจุบันที่บ้านเปลี่ยนพื้นนาเป็นสวนไปหมดแล้ว |
นางสาว | นางสาวจิรานันท์ จำปานวน | ได้พลังที่จะขึ้นมื้อเดียวอีกครั้งหลังจากที่ตกมา 1 สัปดาห์เพราะไม่ทันกิเลสมันหลอกว่ากินมื้อเช้าด้วยเลยจะได้มีแรงไปทำงานเพราะงานวันนี้ท่าจะเหนื่อย หุงข้าวไว้เถอะเวลาที่ทำงานมาเหนื่อยๆก็จะได้กินเลย แล้วเราก็ไปทำตามกิเลส ก็ตกมื้อมาเรื่อยๆและมีวิบากดีได้มาฟังธรรมเรื่องมื้อเดียวแล้วก็ได้พลังขึ้นมาพร้อมที่จะสู้มือเดียวใหม่อีกครั้งค่ะ |
นาย | พูลศักดิ์ โสภาวัฒนะโรจน์ | ปรับสมดุลร้อนเย็นในร่างกายด้วยยา9เม็ด |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | ยินดีเมื่อดีเกิดและดีไม่เกิด การเป็นพรหม 4 หน้า |
นางสาว | สัสยา วาทยานนท์ | สำรวจอ่านใจตนเองว่าศีลรักษาได้ดียิ่งขึ้น ความกลัว ลดน้อยลง ไปทีละอย่าง สิ่งที่เกิดขึ้นในวันนี้ดีก็ ดี สิ่งที่ไม่ดีเกิดขึ้นก็ดีเพราะยังไม่ถึงเวลาออกฤทธิ์ด้วยพลังศีลของตนเอง |
นาง | วิศน์ชญาพัชร์ ธรรมราช | ฟังแล้วทำให้อยากที่จะมีศีลที่ถูกตรงและสมบูรณ์มีศีลจะมีมาตาลีสารถีมาคอยเตือนวิบากดี-ร้ายประโยชน์ทำให้มีศีลมากขึ้นเได้รับวิบากดีดันเรื่องไม่ดีออกไปเป็นสุขมากขึ้น |
นาง | จิตรา พรหมโคคร | วันที่ 6 พฤศจิกายน 2564 ได้นำคำสอนจากการฟังธรรมเรื่องความโกรธและวิธีลดความโกรธไปใช้ในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับตัวเอง เมื่อถูกพ่อบ้านตำหนิว่าสอนอะไรแล้วไม่ทำตาม รู้สึกเริ่มมีความโกรธก็ใช้คำสอนของท่านอาจารย์มาพิจารณาทบทวนซ้ำๆ ก็ช่วยลดคลายความโกรธได้ |
นางสาว | วิมลวรรณ สินธุจริวัตร | ไม่นอกใจและให้เกียรติสามีจะได้ไปเกิดเป็นชายทำใจให้เป็นสุขยอมรับทั้งเรื่องดีและเรื่องร้ายให้ได้ |
นางสาว | รัตนา กิจเกื้อกูล | ฟังแล้วทำให้จิตใจหึกเหิม มีความตั้งใจมากขึ้นที่จะเดินตามแนวทางที่ท่านอาจารย์หมอเขียวแนะนำ แม้ยังไม่สามารถหลุดพ้นได้ในชาตินี้ ชาติหน้าก็จะขอพากเพียรต่อไป และต่อไปนี้จะขอมีชีวิตอยู่อย่างเป็นผู้ไม่เบียดเบียนใคร จะพยายามรักษาศีล 5 ให้ดีขึ้นตามลำดับ อย่างไม่โลภ เพื่อสร้างพลังดีช่วยตน พัฒนาตนเองให้ได้ก่อน เพื่อจะได้ช่วยผู้อื่นต่อไป |
นาย | สุรชัย สร้อยสวัสดิ์ | ได้รู้สึกมีใจที่สำนึกการพึ่งตนด้วยการมีศีล จะทำให้ไม่มีทุกข์ กังวล หวั่นไหว และศีลทำให้พืชพันธุ์ของเราแข็งแรงสมบูรณ์ ไม่มีโรค ฝนฟ้าตกตามฤดูกาล โรคพืชเบียดเบียนน้อย ได้ผลผลิตมารับประทานได้อยู่อย่างพอเพียง และการมีหมู่มิตรดีเป็นพลังพึ่งพาช่วยทำให้งานทุกอย่างสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ได้ร่วมกับเพื่อนบ้านตัดต้นไม้ริมทางหน้าบ้านในที่รกที่เจ้าของยังไม่ทำประโยชน์และไม่มาดูแลปล่อยให้ต้นไม้วัชพืชขึ้นรกและต้นไม้โตขึ้นทำให้เป็นที่ไม่สบายใจเป็นแหล่งเพาะสัตว์มีพิษ เช่น ยุง งู ตัด ถาง ทำให้โล่ง โปร่งสบายตาขึ้น |
นาง | ณัชวรรณ ศรีเพชรส่องแสง | อริยศีล อริยปัญญาสมบูรณ์ดันสิ่งดีเข้า ดันสิ่งร้ายออกที่รับมาแล้วคือที่ทำมาไม่มีความหวั่นไหว |
นางสาว | อัญชลี พุ่มแย้ม | |
นางสาว | สุภัคษา เต่าถมตา | สติเริ่มนิ่งขึ้น ไมกลัว ไม่กังวลกับทุกเรื่องที่เกิดขึ้น |
นาง | บุญนา บุญศรี | ได้รู้ว่าความกลัวกังวลหวั่นไหวเป็นพิษต่อร่างตนถ้าความวิตกกังวลหวั่นไหวเกิดขึ้นเมื่อใดก็บอกตัวเองว่ากิเลสมันหลอกรู้เท่าทันกิเลสเราก็เป็นผู้ชนะกิเลส สิ่งที่ได้ โล่งโปร่งใสมีความสุขเบากายมีกำลังเองและเท่าที่ได้รับฟังอาจารย์หมอเขียวเราก็ได้ลดละความกลัวโดยใช้ความกล้าเข้ามาแทนการก่อให้เกิดโรคร้ายตามมา |
นาง | ภัคเปมิกา อินหว่าง | |
นาง | นางสุมา ไชยช่วย | ถ้ากล้าได้เจ็ดประการ ชีวิตผาสุข กล้าที่จะใช้วิบากใช้แล้วก็หมดไป |
นาง | วสา ราญคำรัตน์ | เิกิดความอยากได้พันธุ์ถั่ว และพันธุ์ข้าวดอยฟ้าทำให้เรามีพลังที่จะทำกสิกรรมเพื่อตนเองแลผู้อื่น |
นางสาว | คูณทิพย์ วงษ์สุวรรณ | |
นางสาว | คูณทิพย์ วงษ์สุวรรณ | เข้าใจความไม่ยึดมั่นถือมั่น ละความกลัว เพิ่มความกล้า...กลัวไม่ได้กิน..ก็.กล้าที่จะไม่ได้กิน หมดอยาก หมดกลัว หมดทุกข์มั่นใจในศีลทำให้ดีออกฤทธิ์ได้มาก ...สูงสุดที่ได้ตอนนี้คือใจสงบจากความอยาก..แม้อยากกินสิ่งที่คิดว่าเป็นประโยชน์...จะได้กินหรือไม่ได้กินก็ไม่ทุกข์ใจแล้ว |
นาง | ภัคเปมิกา อินหว่าง | |
นาง | ภัคเปมิกา อินหว่าง | |
นางสาว | นนลณีย์ วงศ์ชัยพัฒนา | |
นาง | พรพรรณ เอ็ทสเลอร์ | ได้คติไว้สอนตัวเองว่า เมื่อกล้าที่จะไม่ได้สิางที่อยากได้แล้ว ก็จะได้สิ่งนั้นมาโดยเกินความคาดหมาย |
นางสาว | รุ่งนภา เพ่งรุ่งเรืองวงษ์ | เบากาย สบายจิต พิชิตโรค |
นาง | ณัชวรรณ ศรีเพชรส่องแสง | ดับความชั่วล้างกิเลส,พยาบาท,ไม่ประมาทเบียดเบียนตนเองและผู้อื่นสัตว์อื่น,จะไม่รู้ตามความเป็นจริงจึงปัญญาดับ |
นางสาว | นฤมล วงศา | การวัดผลสุขภาพด้วยเวทนา มากกว่าผลเลือด ตนเข้าใจชัด ตอนที่ค่าผลเลือดไม่ดี บ่งบอกภาวะความเสี่ยงของโรคบางอย่าง แต่ตอนนั้น ตนรู้สึกทุกข์ใจ ไม่สบายใจยิ่งนัก แต่จริงอย่างที่อาจารย์กล่าวไว้ ตนยังมีสุขภาพกายที่ดี ไม่เป้นอะไร คิดแบบนั้นก็ถือว่าแข็งแรงแล้ว พอใจแล้ว |
นาง | พิกุล วันจันทร์ | |
นาง | จิตรา พรหมโคตร | |
นาง | ศิริพร ขาวไชมหา | อาหารตา คือการที่เราได้มองเห็นสิ่งที่เราชอบ สิ่งที่เราภาค พากเพียรมาด้วยความเหนื่อยยาก เมื่อทำสำเร็จ แล้วเกิดผลรับที่ดี สวยงามเราก็สุขใจ เช่นเราปลูกผัก ตื่นเช้ามาเราก็รีบไปรดน้ำเห็นผักโตขึ้นทุกวัน เราก็ได้ชื่นชมเกิดความสุขความภาคภูมิใจ เราก็จะได้ทั้งอาหารตาและอาหารใจ |
นาง | เกษร อินต๊ะปัญญา | มั่นใจในศีล กลัวอะไร ให้กล้าสิ่งนั้น เมื่อเราทำมา กล้ารับวิบากร้ายที่เกิดขึ้นกับเรา ไม่กลัว กังวล หวั่นไหว เมื่อวางใจ ทุกข์ จางหาย ทุกข์คลายไป |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | เห้อ!... ยากจัง ชาติหน้าคงต้องเกิดเป็นผู้หญิงอีกเหมือนเดิม |
นาง | สมใจ สิทธิษ์ | กล้าที่จะทำดีให้กับตัวเอง ด้วยการเข้าหาหมู่มิตรดีในรายการสายด่วน ถามปัญหาเรื่องที่เราติดกาแฟ อยากเลิกให้ได้โดยเด็ดขาดสักที่ ถ้าเรายังไปกล้าเราก็จะรู้ไปทันกิเลส สักที มันก็จะพาเราทุกข์อยู่นั่นแหละ อาจารย์สอนว่า ต้องเข้าหาหมู่มิตรดี สหายดีเป็นทั้งหมดทั้งสิ้นของการพ้นทุกข์ |
นาง | พรนภา บุรณศิริ | |
นางสาว | พุธพรรณ ศรีธรรมูปถัมภ์ | ในทุกๆ วัน เห็นสภาวะธรรม ทุกเรื่องเลยค่ะ ไม่ว่าจะเป็นวินัยในการฝึกตนเองให้ออกกำลังกาย ทำอาหารรสจืด ทำความสะอาดบ้าน ทำงานบ้าน ทำกสิกรรมธรรมชาติ ดูการเจริญเติบโตของพื้ชที่เราปลูก ทุกอย่างถ้าเรากล้าที่จะทำ จะได้รับประโยชน์จากความกล้าของเราทั้งสิ้นค่ะ ผลลัพธ์คือ เราไม่กังวลกับสิ่งใด เรามีความสุขที่ได้ทำ มีความผาสุกที่ได้รับ ถ้าไม่ได้ฟังธรรมอาจารย์หมอ คงไม่ทราบที่มาที่ไปในการปฏิบัติธรรม เป็นแน่แท้ค่ะ กราบขอบพระคุณอีกครั้งค่ะ สาธุค่ะ |
นาย | สุถาพ พงศ์วรรณ | รับวิบากร้ายที่เกิดขึ้นกับตัวเองได้ และได้สู้กัยกิเลส |
นาง | ภัคภร จันทราสกุล | |
นาย | สุมิตชัย ศรีจันดี | |
นางสาว | วิญญา จันทะพล | อาจารย์พูดถึงมรรคในข้อต่างๆ แล้วเราก็มานึกถึงที่ได้เรียน เรื่องความจำกับคุรุเอ๋ ท่องเรื่องมรรคมีองค์8 เราก็ได้ความเข้าใจลึกซึ้งขึ้นแล้วเราก็จำได้ในทุกข้อได้มาวิเคราะห์ถึงเรื่องคำแปลที่กระจ่างชัดมากขึ้นค่ะ |
นาง | จิตรา พรหมโคตร | |
นาง | นงลักษณ์.ใจมนต์ | ฟังแล้วนำไปปฎิบัติได้เลย |
นางสาว | ดวงพร. ฤทธิ์ถาวร | ได้ยาเม็ดเลิศ นำมาปฎิบัติแล้วชีวิตเปลียนไปในทางที่ดี |
นางสาว | ผาสุข ตันชวลิต | ล้างชอบ ชังจากกิเลส พ้นทุกข์ |
นางสาว | ตรีทิพย์นิภา ไทยรักษา | ปล่อยวางทำให้ใจเย็นลงลดความกลัวความอยากทำให้ดิฉันสุขขุมขึ้นและรู้จักตัวเองมากขึ้นสาธุ |
นาง | วิศน์ชญาพัชร์ ธรรมราช | วิบากกรรมเกิดจากการกระทำทางกายวาจาใจทำให้เป็นทุกข์ซึ่งทุกข์ทางใจมีฤทธิ์แรงเท่ากับดินทั้งแผ่นดินทุกข์ทางกายเท่ากับฝุ่นปลายเล็บเราต้องออกจากความคิตที่จะทำให้เราเป็นทุกข์ใจกล้าที่จะออกจากความทุกข์ความอยาก |
นาง | เพ็ญศรี มงคลชาติไทย | มีความรู้สึกยินดีกับสภาวะที่เวลาฟังธรรมะที่เราเข้าใจและปฏิบัติได้บางครั้งฟังเรื่องซ้ำๆฟังยังไงก็ไม่เข้าใจและไม่รู้เรื่องผีมันเข้าประโยชน์ที่ได้ทำให้ลดอัตตาความยึดมั่นและความใจร้อนและความอยากลงได้แต่ยังไมหมด |
นาง | ณัชญ์ชาพัฒ วงศ์วิวิทย์ | ความกล้า ล้างทุกข์ที่เกิดจากความไม่ได้ดั่งใจ |
นาง | จิตรา พรหมโคตร | |
นางสาว | ปาวิดา ทองธวัฒน์ | ดูอารมณ์ตัวเองว่ามีความกลัวกังวลระแวงหวั่นไหว เรื่องใดด้านใด แล้วใช้ปัญญากำจัดกิเลสในเรื่องนั้นให้หมดไป เป็นหน้าที่หลักในชีวิตเรา |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | จากการฟังธรรมะพาพ้นทุกข์ยามค่ำได้ความกล้าจากความกลัวขึ้นได้ตามลำดับ |
นาง | กัญจนา อบรมชอบ | เมื่อเราผิดพลาดไปแล้วเข้าใจเรื่องกรรมไม่ทับถมตนเองอดีตแก้ไขอะไรไม่ได้ปัจจุบันทหให้ดีที่สุด |
นางสาว | ชรินรัตน์ ชุมจีด | สภาวะธรรมที่ได้รับประโยชน์จากการได้ฟังธรรมะจากอาจารย์ให้ได้ประโยชน์มากๆกับเรื่องความยินดีกล้าทำกล้ารับให้ได้กับทุกสถานการ์(เหตุการณ์)ที่เกิดขึ้นและนำมาปรับใช้กับชีวิตได้ดีมากค่ะ |
นางสาว | ชรินรัตน์ ชุมจีด | ความยินดีออกจากกามได้ทำให้ ผ่องใสผ่องแผ้ว การไม่เบียดเบียนปฏิบัติไปย่อมทำให้เจริญ ดับกิเลดับทุกข์ การยินดีในการละกามหาโทษไม่เจอผู้มีปัญญาไม่มีโทษเลยมีแต่ประโยชน์หาไม่เจอเลยจาก เนกขัมมะวิตก ความเบียดเบียน ความชอบชังแม้ไม่มีทางกายวาจาแล้วยังมีอยู่ในใจให้ละเสีย ทำให้เห็นชัดเจนว่ามีสิ่งดีเข้ามาดันวิบากร้ายออกไปไม่เบียดเบียน ทั้ง 2 ฝ่าย คือ คนและผู้อื่น ทำให้รู้จักการประมาณให้พอเหมาะ ทำจิตให้แกล้วกล้าหาดหาญ มั่นใจในศีล ทำให้เห็นความต่างของการล้างกิเลสได้ พิจารณาไตรลักษณ์ของกิเลส ทำให้ปนิหารย์ปัญญาขึ้นเยอะ เปรียบเทียบถ้ามีกิเลสแม้น้อยก็ทำให้พลังเบียดเบียนผู้อื่น แม้อยู่ในใจยังมีผลเลย แม้ความคิดยังมีวิบาก ล้างกิเลสได้จะมีพลังบารมีและปัญญาจะช่วยให้ตัวเองและผู้อื่นได้ดี เป็นทางทำให้ปัญญาเจริญไม่เกิดความคับแค้น เป็นไปเพื่อพระนิพพาน |
นาง | จิตรา พรหมโคตร | |
นาง | เฟื่องฟ้า นภาคะเวช | |
นางสาว | ว่าที่ร.ต.หญิงอำนวยพร ดวงโสภา | กล้าที่จะไม่ได้ดั่งใจค่ะใจเย็นขึ้นมากเลนค่ะ |
นางสาว | รสริน สังข์เกื้อ | ทำให้จิตใจสงบมากยิ่งขึ้น ฟังธรรมะทำให้ผ่องใส รู้จักผิดชอบชั่วดีแยกแยะได้อะไรชั่วอะไรดี เปลี่ยนแปลงชีวิตตัวเองใหดียิ่งๆขึ้นไป ฟังอาจารย์แล้วรู้สึกว่าเหมือนได้ทานยาวิเศษ มีพลังมาก |
นาง | ณัชวรรณ ศรีเพชรส่องแสง | กำจัดกิเลสมารเก่ากิเลสมารอยากที่สร้างขึ้นมาใหม่ปัจจุบัญที่สร้างเพิ่มกำจัดเสียดับกิเลสคือกลัวและทุกข์ |
นางสาว | รุ่งนภา เพ่งรุ่งเรืองวงษ์ | จิตสยบ ความทุกข์ |
นาง | วันที่ 12/11/64สุมา ไชยช่วย | ถ้าไม่อยากก็ไม่ทุกข์ |
นางสาว | วิญญา จันทะพล | อยากได้ความดีต้องบำเพ็ญเอาเองถึงจะเกิดผล เริ่มที่เราจึงจะกระจายไปสู่ผู้อื่นได้ แก้ได้ก็แก้ แก้ไม่ได้ก็ไม่ต้องแก้ โดนกิเลสหลอก เราก็หลอกกิเลสกลับบ้าง และความกล้าคือความพ้นทุกข์ค่ะ ได้ประโยชน์คือจะพากเพียรปฎิบัติตามค่ะ |
นาง | มณเฑียร ธโนปัจจัย | |
นาง | มณเฑียร ธโนปัจจัย | |
นางสาว | ชุติวรรณ แสงสำลี | |
นางสาว | พริมรัศมิ์ จิวเลิศเลขา | หัวข้อของการรับประทานอาหารตามลำดับ ทำให้รู้ว่าการดูแลสุขภาพ เป็นสิ่งสำคัญมาก ระบบการย่อยทำงานไม่หนัก ย่อยอาหารจากเบาไปหนัก และทำให้ร่างกายสดชื่น กระปรี้กระเปร่า มีพลัง ซึ่งปัจจุบันนำเมนูอาหารของหมอเขียวมาสลับทานกับอาหารในชีวิตประจำวัน สำหรับหัวข้อพรหม 4 หน้า เมื่อมีจิตคิดเมตตาผู้อื่น ย่อมคิดช่วยเหลือผู้อื่นโดยไม่หวังผลตอบแทน ในทุกหัวข้อก็จะแฝงธรรมะของยา 9 เม็ดเอาไว้ เช่นข้อ 12 ก็จะตรงกับยาเม็ดข้อที่ 9 คือหัวข้อรู้เพียร รู้พักให้พอดี เป็นต้น |
นางสาว | ชุติวรรณ แสงสำลี | |
นางสาว | ชุติวรรณ แสงสำลี | ทำให้รู้จักการประมาณที่เคยทำได้ไม่พอดีก็ให้มันได้พอดีมากขึ้น และก็ลดการเดาใจผู้อื่นแม้เล็กแม้น้อยก็ไม่ให้เกิดขึ้นได้มากขึ้น ยอมรับวิบากดีร้ายที่เกิดขึ้นมีร้ายก็มีดีมาคู่กันเสมอ ไม่มีอะไรมีดีอย่างเดียว ไม่มีอะไรมีร้ายอย่างเดียว เราเองก็เป็นเครื่องมือตนเองให้ได้ใช้ประโยชน์ตน และประโยชน์ท่าน ฐานบำเพ็ญของเราคือไม่ยึดมั่นถือมั่น ไม่ได้ดั่งใจนั่นแหละ ดีที่สุดในโลก สุขที่สุดในโลก |
นาง | นบชุลี เสาวนา | - |
นาง | วราภา ร่าหมาน | ฟังธรรมจากอาจารย์ทุกวันก็พอเข้าใจบ้างค่ะ แต่เป็นคนลืมง่าย ก็พอเอามาปฎิบัติได้เท่าที่จำได้ ก็ได้ผลดีมากค่ะแต่ต้องฟังเป็นประจำ ได้รับประโยชน์มากทำให้จิตสงบออ่นยนลงมากไม่ใจร้อนเหมือนแต่กอ่น ก็จะขอฟังธรรมของอาจารย์จนวันตายค่ะ |
นางสาว | ณปภัช เมฆประมวล | นำมาแบ่งปันให้กับผู้อื่นและมาแนะนำต่อคนป่วย |
นางสาว | วิภาว้ลย์ ถนัดธรรมกุล | กล้าที่จะให้สิ่งร้ายเข้ามา ยินดีรับ |
นาย | คมเวช หงส์เชิดชัย | มีความสงบ. รู้ทันกิเลสเหตุแห่งทุกข์ทั้งปวง |
นางสาว | ประทุมทิพย์ ไชยชิตร | กล้าที่จะไม่กลัว ปกติจะเป็นคนที่กลัวการทำฟันมาก กลัวทันตแพทย์ กลัวเจ็บ เพราะเคยถอนฟันมา 2ซี่ แล้วมันเจ็บ มาก หลังจากนั้นไม่กล้าที่จะหาหมอทำฟัน แต่พอทำใจให้กล้าที่จะไม่กลัวตามที่อาจารย์ เมื่อวันที่ 6 ที่ผ่านมาเลยไปอุดฟันมา 2ซี่ สรุปพอเรากล้าที่จะไม่กลัว การทำฟันก็ไม่ใช่เรื่องน่ากลัวอีกต่อไป และวันที่11 นัดหมออุดฟันอีก 2 ซี่ หลังจากที่เรากล้าที่จะทำครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 เราก็กล้าทำและก็กล้าในครั้งต่อๆไป ประโยชน์ของความที่จะไม่กลัวการทำฟัน ทำให้เราได้รับการดูแลฟันให้มีสภาพที่ดีขึ้น ไม่ทำให้เกิดปัญหาเรื้อรัง ทำให้ใจเราไม่ทุกข์ แก้ปัญหาแต่ละอย่างไปตามลำดับๆ |
นางสาว | ผาสุข ตันชวลิต | ธรรมะที่อาศัยเหตุแห่งกันและกันเกิดขึ้น / สิ่งใดเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นย่อมดับไปเป็นธรรมดา |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | เราต้องดับกิเลสตัณหาความอยาก อันเป็นต้นเหตุของทุกข์ทั้งหมดทั้งมวล เมื่อปฏิบัติได้ก็จะทำให้หมดทุกข์ทั้งหมดทั้งมวล เกิดสุขกายสุขใจทำให้เกิดเหตุการณ์ดีๆ |
นางสาว | ผาสุข ตันชวลิต | ควรเป็นผู้สร้างอาหารให้แก่โลก เพราะทุกวันนี้อาหารที่ดี ไร้สารพิษ ขาดแคลนไปทั่วโลก มาช่วยกันผลิตอาหารเพื่อเกื้อกูลผองชน และ มนุษยชาติ |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | คนมีศีลจะมีลักษณะ คิดดี พูดดี ทำดีเป็นศีลอริยสัจในปัจจุบัน |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | ความสำคัญของอาหารไร้สารพิษคนจะรู้คุณค่ามากเห็นประโยชน์ของการดูแลสุขภาพพึ่งตนและช่วยคนให้พ้นทุกข์..ได้ตามลำดับ |
นางสาว | ธัญมน หมวดเหมน (มั่นแสงธรรม) | จากการตั้งใจฟังการสาธยายธรรมจากอาจารย์ทุกวันและพิจารณาทำใจในใจตามให้ลึกซึ้ง ทำให้เห็นความจริงตามความเป็นจริงในธรรมะนั้นได้มากยิ่งๆ ขึ้นเป็นลำดับ ได้เห็นความจริงตามสัจจะคำสอนของพระพุทธเจ้าว่าเป็นจริงตลอดกาลและทำให้ใจเราพ้นทุกข์ได้จริงๆ เมื่อเราได้น้อมนำมาปฏิบัติอย่างถูกตรงตามคำสอนของท่านที่สัตบุรุษนำมาถ่ายทอดให้เราได้ศึกษาและปฏิบัติตามอย่างจริงจัง |
นางสาว | วิภา ถิ่นถาน | กล้าได้ กล้าเสีย กล้าเจ็บ กล้าป่วย กล้าทุกข์ กล้าสุข |
นาง | ดอกไม้ ปวะบุตร | การเพิ่มศีล ลดกิเลส |
นางสาว | ประทุมทิพย์ ไชยชิตร | |
นาง | พิกุล วันจันทร์ | |
นาย | ภาคภูมิ ยอดปรีดา | เรื่องดีๆ ต้องใช้ความกล้า แต่เรื่องที่ไม่ดี ต้องใช้ความกลัว (เกรงกลัวต่อการทำบาป) |
นางสาว | ไปรยา เพื่อนพิมาย | |
นางสาว | ประภาพรรณ โอษฐ์ยิ้มพราย | ใจเราต้องกล้ารับ ดี ร้าย ที่เกิดขึ้น กล้ารับ กล้าให้หมดไป เราไม่ต้องไปเสียพลัง ไปกลัว ร้ายเกิดก็รู้ รับเท่าไหร่หมดเท่านั้น มันจะดันวิบากร้ายออกไปได้มากที่สุด สาระธรรมที่ได้รับจากการฟังธรรมคือ ช่วงนี้เราเป็นผื่นคัน บวม แดง ร้อน เราต้องรับวิบากที่เกิดขึ้นกับเรา เราก็ใช้ยา 9เม็ดดูแลตัวเองไป ลดกิเลสไป เพิ่มอธิศีลไป ทำความดีไป ตรวจใจเรา เท่านั้น และประโยชน์ที่ได้คือ กล้าให้มันเกิด รับซะจะได้หมดไป ทำใจไร้ทุกข์ ทำดีไปเรื่อยๆ มันจะหายวันไหนก็ช่าง ใจเราต้องไร้ทุกข์ ใจดีงาม |
นางสาว | วาสนา ทูลแก้ว | สภาวะธรรมหลังจากการฟังบรรยาย ได้นำยา 9 เม็ดมาใช้ปฏิบัติอย่างเคร่งครัด, ประโยชน์ที่ได้รับ ทำให้ร่างกายดีขึ้นประมาณ 80% และเราได้นำความรู้ไปช่วยสอนคนอื่นได้อีก เนื่องจากมีคนงานที่บ้านมือแพ้สารเคมีทำให้เป็นน้ำหนองไหลเยิ้ม ให้เขาแช่น้ำปสว. แผลแห้งเร็วมาก เมื่อได้ปฏิบัติกับตนเองแล้วเกิดประโยชน์ทำให้ชีวิตมีความสุข คนรอบข้างก็มีความสุขไปด้วย |
นางสาว | เอ็นดู พูลสวัสดิ์ | แก้ที่ใจด้วยความกล้าจึงจะเกิดสิ่งดีเรื่อยไปกล้าจะมีแต่หล่มเหลว |
นาง | จำปา ลัคณาสถิตย์ | 12 พ ย สุขสมใจอยาก ก็จะสุขไม่ได้สมใจสมใจก็จะทุกข์ |
นาง | สุรภี สนธิแก้ว | การกินเนื้อสัตว์ทำให้สัตว์ได้รับความทุกข์ทรมาณ เกิดวิบากร้ายกับตนเอง มีอาการเจ็บป่วยทางกายและทางใจ เมื่อฟังจากอาจารย์หมอเขียวแล้วก็ลด ละ เลิก เนื้อสัตว์ ทุกข์กายทุกข์ใจที่มีค่อยๆลดลงไป และจะพากเพียรต่อไปเพื่อให้ลดได้ 100% จะทำวิบากดีให้กับตนเองและผู้อื่นต่อไปค่ะ |
นางสาว | เอ็นดู พูลสวัสดิ์ | ชำระกิเลสได้จะมีวิบากมีแรงเนี่ยวนำที่ดี |
นางสาว | ผาสุข ตันชวลิต | การใช้ไมโครเวฟ ทำให้ โครงสร้างของอาหารอยู่ในรูปที่ร่างกายไม่ต้องการ |
นางสาว | อมรา อ่อนทรัพย์ | ประโยชน์ที่ได้รับจะพยายามเพื่มศิลให้เพื่มมากขึ้นจะได้พ้นทุกข์ไร้กังวล |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | อาหารเป็นหนึ่งในโรค อาหารเป็นยา |
นาง | เพ็ญศรี มงคลชาติไทย | |
นางสาว | สุดใจ โสะหาบ | จากการที่ได้ฟังธรรมจากอาจารย์ทำให้ได้เข้าใจสัจธรรมความจริงที่เกิดขึ้นเอามาสอนตัวเองว่าสิ่งที่เกิดขึ้นในแต่ละวันที่เราได้รับเป็นสิ่งที่เราทำมาถึงไม่ทำมาจากชาตินี้ก็ทำมาจากชาติก่อนจะไม่ถือสาเพื่อนร่วมงานเพราะคนเราแต่ละคนมีฐานจิตไม่เท่ากันให้อภัยตัวเองและให้อภัยผู้อื่นเท่าที่ตัวเองจะทำได้ด้วยใจที่เบิกบานเป็นสุข |
นางสาว | ว่าที่ร.ต.หญิงอำนวยพร ดวงโสภา | ได้ธรรมการตั้งศีล การเปลี่ยนความกลัวเป็นความกล้า ทุกวันนี้กล้ามากขึ้นค่ะกล้ายอมรับกับการไม่ได้ดั่งใจมากขึ้นค่ะใจหนักแน่นไม่หวั่นไหวไม่หวิวอ่อนตามกิเลสค่ะต่อสู้หนักมากค่ะกว่าจะยอมรับได้ค่ะไม่กลัวค่ะกล้ามากขึ้นค่ะ |
นาง | ภัคเปมิกา อินหว่าง | |
นางสาว | จิรานันท์ จำปานวน | สภาวะธรรมที่ได้ คือ ความชัดเจนในเรื่องไม่มีใครได้อะไรเท่ากันนอกจากความพ้นทุกข์ ไม่มีอะไรเหมือนกัน เพราะแต่ก่อนก็คิดว่าทุกคนมีสิทธิ์เท่าเทียมกันก่อน |
นางสาว | ชุติวรรณ แสงสำลี | |
นาง | จิตรา พรหมโคตร | |
นางสาว | นรา แสงหิรัญวัฒนา | ผลของวืบากดีร้ายจากเหตุที่เราทำ |
นางสาว | รัชกร กุลเสวต | ขอขอบพระคุณอาจารย์หมอเขียวที่พากเพียรบำเพ็ญบรรยายธรรมให้หมู่มิตร พวธ ได้พบทางพ้นทุกข์ หลายวาระคำบรรยายธรรมของอาจารย์เป็นการบอกคำตอบที่กังวล สงสัยอยู่ในใจที่ มีกิเลสทำให้ทุกข์อยู่โดยไม่รู้ตัว และยังไม่เกิดปัญญาที่จะระลึกรู้ เช่นเรื่องพรหม 3 หน้า ซึ่งรัชกรเอง ยังเป็นอยู่โดยไม่รู้ว่าเป็นเหตุให้ตัวเองทุกข์ใจ โดยเฉพาะกับคนในครอบครัว ซึ่งเรามีความเป็นห่วง กังวล อยากแนะนำข้อมูลดีๆ และทำสิ่งดีๆ ให้ตลอดมา แต่บ่อยครั้งที่ คนในครอบครัว ไม่ได้นำไปปฏิบัติตาม หรือเห็นดีดังที่เราหวัง ทำให้ มีความเป็นห่วงกังวลว่าจะเกิดผลร้ายกับเขา ทำให้ออกอาการจูู้จี้ บ่นว่าด้วยความเคืองใจ อยู่บ่อยครั้ง หลังจากได้ฟังอาจารย์บรรยายธรรมว่าคนเรามีฐานจิตต่างกัน เราต้องไม่ทำตัวเป็นพรหม 3 หน้า รู้จักปล่อยวางเมื่อได้ทำดีที่สุดแล้ว เขายังไม่เห็นดี แสดงว่าเราไม่ใช่สัตบุรุษ ที่จะสอนเขาได้ ต้องยอมให้เขารับวิบากร้าย เมื่อทุกข์จนเกินทน เขาจะเข้าหาธรรมเอง เราจะได้ไม่ทุกข์ เอาพลังไปทำกุศลอย่างอื่น ทุกวันจึงคิดทบทวนธรรมข้อนี้ ทำให้ใจเบาสบายขึ้นทุกวัน สาธุค่ะ |
นางสาว | นรา แสงหิรัญวัฒนา | การเลิกกลัวว่าทำดีไม่ได้คือ อจ.เล่าเรื่องหมูป่าบุกไร่ที่ภูผา เลยเหมือนที่ตนคิดว่าเราทำดีกับคนอื่นแล้วทำไมคนอื่นไม่เห็นความดีของเรา แต่พอฟังแล้วก็เข้าใจได้ว่ายึดตัวตน อยากให้คนอื่นเห็นว่าเราทำดี เลยสบายใจเพราะปรับจิตให้หลุดจากการอยากดังกล่าวได้ |
นางสาว | อุบล พลรบ | |
นางสาว | อุบล พลรบ | ☸641909.3 เล่มที่ 24/ข้อที่60 อาพาธสูตรกับการปฏิบัติให้ถูกต้อง 🔆สรุป : อาพาธสูตร พระพุทธเจ้า ให้พิจารณาไตรลักษณ์ของกิเลส ความไม่เที่ยง ความเป็นทุกข์ ความไม่ใช่ตัวตนของกิเลส จนกำจัดกิเลสได้ 🔆และท่านให้ทำความดีช่วยเหลือผู้อื่น กำจัดกิเลสไปเป็นลำดับ ๆ ความอยากความกลัว ว่าจะไม่ได้ตามที่อยาก ไปสู่ความกล้าหมดอยากไปเป็นลำดับ ทำความดีช่วยเหลือผู้อื่น และทำสมดุลร้อนเย็นไป 🔆ทำหลักใหญ่ ๆ อยู่อย่างนี้ ทำไปให้ก้าวหน้า ๆ ๆ ชีวิตก็จะพ้นทุกข์ในที่สุด พ้นทุกข์ใจ ทุกข์กาย เรื่องร้าย ในที่สุดเป็นเช่นนั้น 🔆ก็ลองไปปฏิบัติกันดู แล้วก็จะเห็นปาฏิหาริย์แห่งพุทธะ ชำระกิเลส ช่วยเหลือผู้อื่น ทำสมดุลร้อนเย็น สมดุลเหตุการณ์ แล้วจะเจอปาฏิหาริย์ ว่าทุกข์ดับได้อย่างปาฏิหาริย์ 🔆กลายเป็นผู้ที่แกล้วกล้า อาจหาญ เบิกบาน แจ่มใส ไร้กังวลตลอดกาล ละบาปบำเพ็ญกุศล ทำจิตใจให้ผ่องใส ก็พ้นทุกข์ได้ทุกเรื่องเป็นลำดับ ดร.ใจเพชร กล้าจน (อ.หมอเขียว) ชุมชนภูผาฟ้าน้ำ จ.เชียงใหม่ 📍9 พฤศจิกายน 2564 🍀🌺🍀🌺🍀 |
นางสาว | อุบล พลรบ | |
นาง | ยุพิน ไชยยศ | ฟังธรรมมะจาก อ. หมอเขียว แล้วมีความเข้าใจเรื่องของบุญกรรมมีจริง,ใด้ประโยชน์ในเรื่องของจิตใจมากๆเลยค่ะรู้จักปล่อยวาง.สัตว์โลกย่อมเป็นไปกรรมไม่ห่วง,ไม่กังวลในเรื่องทิ่ตัวเองทำไม่ใด้.ใจเย็นขึ้นมากซึ่งเป็นเหตุลดความรุนแรงทั้งต่อครอบครัวและคนอื่นด้วยค่ะ. |
นาง | มณเฑียร ธโนปัจจัย | |
นางสาว | ศิริพร คำวงษ์ศรี | ลดการทำเรื่องไร้สาระ เสพกิเลสทำให้มีแต่วิบาก เมื่อทุกข์พอ เห็นทุกข์พอเมื่อไหร่ คงตัดกิเลสให้สิ้นเกลี้ยงได้ในวันหนึ่ง แบบไม่ยึดมั่นถือมั่น ทำอะไรไม่ได้ก็ "กล้าทุกข์ กล้ารับไปเรื่อย ๆ" |
นาง | สุมา ไชยช่วย | ไม่ต้องยึดมั่นถือมั่น สุดท้ายทุกสิ่งทุกอย่างไม่มีอะไรเป็นของคร |
นางสาว | ณัฐชยา จินตนารั่งโรจน์ | |
นาง | นฤมล แป้นคุ้มญาติ | ลดกิเลสเพิ่มศีลกินอาหารเจวันละ1มื้อ |
นางสาว | ศิรินภา คำวงษ์ศรี | - |
นาง | เครือแก้ว คุณะวัฒนา | ความกล้า8ประการ กล้ารับวิบากดี/ร้าย กล้าแบ่งปันด้วยใจบริสุทธิ์ ช่วยให้พ้นทุกข์จากความกลัว |
นางสาว | สิริรัตน์ ธนพรไพศาล | วิธีการ 5 ข้อในการแก้ปัญหาทุกปัญหาในโลกคือเป็นธรรมดาแล้วเป็นของชาวบ้าน1.คบและเคารพมิตรดี 2.มีอริยศีล 3.ทำสมดุลร้อนเย็น 4.พึ่งตน 5. แบ่งปันด้วยใจที่บริสุทธิ |
นาง | เพ็ญศรี มงคลชาติไทย | |
นางสาว | กมลชนก ทุมวงษ์ | ได้น้อมนำคำสอนของท่านอาจารย์หมอเขียว ดร.ใจเพชร กล้าจน มาใช้ในการเพิ่มศีลเพื่อลดกิเลสในการอยากกินอาหารปรุงและฆ่ากิเลสในการมีข้อแม้ต่างๆ ประโยชน์ที่ได้รับ ได้ล้างกิเลสเป็นลำดับๆ |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | เห็นเด็กๆ ทำงานและ เล่นน้ำในนา นึกถึงตัวเองสมัยเด็กๆ สภาพก็คล้ายๆแบบนี้แหละ แต่อยู่กับครอบครัวไม่มีหมู่มิตรดีเหมือนเด็กเด็กกลุ่มนี้ ตอนนั้นไม่เห็นคุณค่าของการทำนา กลับคิดด้วยซ้ำว่ามันเป็นอาชีพที่ต้อยต่ำ อาชีพที่ต้องเหน็ดเหนื่อย แต่ตอนนี้อย่างน้อยก็ยังมีกุศลได้มาพบท่านอาจารย์และหมู่มิตร สอนให้เปลี่ยนความคิดซะใหม่แล้วค่ะ |
นาย | กิตติ สิริพณิชพงศธร | ทำให้ตัดความอยากทานเนื้อสัตว์ได้เร็วขึ้น เพราะเห็นความเดือดร้อนแสนสาหัสที่สัตว์ได้รับ ซึ่งก็จะมาเป็นวิบากร้ายแสนสาหัสที่เราต้องได้รับแน่นอนในภายหลัง |
นางสาว | ปัทมา ลีฬหาวงศ์ | ฟังธรรมในเรื่อง ยึด อยากทำให้ทุกข์ทำให้ยากการไม่ยึไม่อยากทำให้ไม่มุกข์เบา สบายเพราะไม่ยึดไม่ยากทำให้อะไรๆก๋ง่ายไปหมดเพราะไม่ยึดไม่อยากแค่นั้นเอง |
นาย | ไพฑูรย์ ทุมพันธ์ | ทำให้จิตรใจเบิกบานแจ่มใสมากขึ้น |
นางสาว | สุภัคษา เต่าถมตา | ตั้งแต่เข้าค่าครั้งแรกที่โรงเรียนผู้นำที่กาญจนบุรีก็ตัดสินใจเลิกเนื้อสัตว์ตลอดชีวิตแต่อนุโลมตัวเองบางก็มีไข่พอมีค่ายออนลายทำให้เลิกไข่และอาหารเจที่แช่แข็งหันมากินพืชจืดสะบาย |
นาง | เกษร อินต๊ะปัญญา | ลดความกลัวกังวล หมั่นตรวจว่ากลัวอะไร เปลี่ยนความกลัวมาเป็น ความกล้า กล้ารับเรื่องที่เกิดขึ้น กล้าหมดอยาก กล้าไม่ได้สิ่งนั้น ไม่ต้องอยากมีอยากได้อะไร ปราศจากความอยากได้เป็นสุขที่สุดแล้ว เมื่อเจอสิ่งร้าย วางใจให้ได้ กล้าทั้ง 8 ประการ ยอมรับวิบากปัจจุบัน ยิ่งรับยิ่งหมดไป กล้ากำจัดความกลัว ก็หายทุกข์ได้ จะไปกลัวอะไรชีวิตมีอยู่เท่านี้ อย่าไปกลัวมัน ต้องกล้าแลกกับมัน กิเลสมันกล้ว คนกล้า ต้องแลกกับมัน กิเลสมันจะกลัว หมั่นขยันทำสิ่งดีอย่างผาสุก ลดละเลิกสิ่งไม่จำเป็นต่อชีวิต ให้ได้อาศัย ก่อนที่ทุกอย่างจะดับไป สาธุ ค่ะ |
นาง | ยุพิน หมายชื่น | |
นางสาว | ประภัสสร วารี | ฟังธรรมอย่างเบิกบานแจ่มใส |
นางสาว | พันธุ์ทิพา นุชทิม | ปิติสุข เป็นหลักธรรมคำสอนที่ ท่าน อ. หมอเขียวนำมาถ่ายทอดเข้าใจใด้อย่างลึกซึ้ง และจะนำไปเป็นแนวทางการปฎิบีติเพื่อความหลุดพ้นจากทุกข์ได้ทั้งปวง |
นาง | ยุพิน หมายชื่น | |
นาง | ณัฐพร คงประเสริฐ | หมั่นล้างกิเลสในตน เรียนรู้อริยสัจ4 อยู่กับปัจจุบันอย่างมีสติ การให้และการแบ่งปันเป็นที่พึ่งแท้ของโลก |
นางสาว | ประภัสสร ชาญชัยชูจิต | ไม่ว่าร้ายหรือดี ต้องกล้ารับกล้าทิ้ง ประโยชน์ที่ได้รับคือ |
นาง | กัญจนา อบรมชอบ | ได้เรียนรู้และเข้าใจในเรื่องของความกล้าและปรับสมดุลร้อนเย็นได้มากขึ้น |
นาง | จิตรา พรหมโคตร | ได้สภาวะธรรมที่อาจารย์พูดว่า"บางท่านฟังธรรมอาจารย์แล้วไม่เข้าใจ แต่มาฟังเพื่อนย่อยธรรมะเข้าใจมากกว่า" ซึ่งเป็นความจริง เพราะเราคนหนึ่งไม่ว่าจะได้ฟังธรรมหรือไม่ได้ฟังธรรม ก็จะมีเพื่อนมาย่อยธรรมะแลกเปลี่ยนสภาวะกันทุกวัน นามสกุลที่คำสอนของท่านอาจารย์ว่า"ผู้จะบรรลุธรรมได้ต้องปฏิบัติ 5 ประการ คือ 1.ฟังธรรม 2.สนทนาธรรม 3.ทบทวนธรรม 4.พิจารณาธรรม 5.ไตร่ตรองธรรม ซึ่ง 1ใน5 นั้นเราได้ปฏิบัติใน ข้อ2 คือได้สนทนาธรรมแลกเปลี่ยนสภาวะกัน ประโยชน์ที่ได้รับ มีความก้าวหน้าทางธรรม มีปัญญามากขึ้นนำไปต่อสู้กับกิเลสได้อย่างสนุกสนาน เบิกบานใจ ในแต่ละเรื่องตามวิบากดีวิบากร้ายที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์แต่ละวัน |
นางสาว | นฤมล วงศา | อาจารย์พูดถึงการผลิตอาหาร และพึ่งพาตนเองให้มากที่สุด โดยเฉพาะด้านการเกษตร และทำให้เป็นตัวอย่างพร้อมนำเสนอภาพให้เห็น มันทำให้เกิดความรู้สึกอยากลงมือทำ พึ่งพาตัวเองโดยการทำเองมากกว่าซื้อ แม้ตนจะไม่ถนัดงานด้านเกษตรเพราะไม่เคยทำเลย แต่ก็เกิดความรู้สึกอยากลองทำ ลองปลูกให้มากขึ้นมากกว่าต้นข้าว ต้นกระเพราะ โดยใช้กระถาง ตนตั้งใจแล้วว่าจะลองปลูกผักพื้นบ้านที่ใช้ทำกับข้าวเป็นเบื้องต้นค่ะ |
นาง | เวียงทอง นุ่นภักดี | ประโยชน์ใช้ความกล้ามาดับความกลัวกังวลหวั่นไหวแล้วจะทำให้ความทุกข์ดับไป เมื่อมีความชิงชังเกิดขึ้นคือความไม่อยากได้ไม่อยากมีไม่อยากได้ทำให้ทุกข์ใจ เรารู้สัจจะความเป็นจริงว่าทุกอย่างไม่มีอะไรบังเอิญเกิดจากวิบากดีร้ายที่เราทำมาร้ายเกิดแสดงว่าเราทำชั่วมากเบียดเบียนตัวเองผู้อื่นสัตว์อื่นมาทำให้ใจเรายอมรับผิดยอมรับสิ่งที่จะเกิดเรื่องร้ายได้อย่างเต็มใจ |
นาย | สมศักดิ์ แดงอ่อน | คนดีสร้างอาหาร คนสามานสร้างอาวุธ |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | สรุปสภาวะธรรมที่ได้จากการฟังธรรม เมื่อทำดีก็ทำให้จิตใจเป็นสุข ทำไม่ดีก็ทำให้จิตใจเป็นทุกข์ ประโยชน์ที่ได้รับทำให้เราเลือกเอาการทำดีดีกว่า เพราะทำให้จิตใจเป็นสุข |
นางสาว | โสภณา อยู่เล่ห์ | ได้นำความกล้า 8 ประการไปฝึกใช้ในชีวิตประจำวัน ทุกครั้งที่เกิดความกลัวก็จะนึกถึงคำสอนนี้แล้วค่อยๆ คุยกับกิเลส สังเกตว่าความกลัวจะค่อยๆลดลง หากความกลัวมีมากจนคิดว่าจะเอาไม่อยู่ ดิฉันก็จะระลึกถึงอาจารย์และตอกย้ำตัวเองว่า"เราเป็นลูกศิษย์อาจารย์หมอเขียว เราต้องกล้าให้ได้อย่างที่อาจารย์สอนสิ" เพียงเท่านี้ก็สามารถเปลี่ยนความกลัวเป็นความกล้าได้อย่างฉับพลัน ปัจจุบันเริ่มสนุกกับการต่อสู้กับความกลัว เหมือนได้ออกไปรบพร้อมฝึกใช้อาวุธทางปัญญา สาธุค่ะ |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | ซื้อประกันชีวิตไว้หลายกรมธรรม์เลย ให้ทั้งตัวเองทั้งพ่อ แม่ สามีและลูก ถ้าจะถอนคืนตอนนี้ก็มีแต่ขาดทุนกับขาดทุน จริงอย่างท่านอาจารย์พูดจริงๆ ว่าบริษัทผู้ขายประกัน เขามีกลไกที่เฉียบคมยิ่งกว่าคนซื้อ |
นางสาว | ปาวิดา ทองธวัฒน์ | ฟังท่านอาจารย์บรรยายวันนี้ได้รู้แล้วว่าสมาธิพุทธคือ สัมมาสมาธิ คือการปฎิบัติ อริยมรรค อีก 7ข้อ อย่างถูกตรง มุ่งมั่นและพากเพียร เป็นทางเอกสายเดียวสู่การพ้นทุกข์ |
นางสาว | ผาสุข ตันชวลิต | ละตัณหา ด้วยมรรค คือ วิราคะ / ได้เข้าใจการปล่อยวางของจิตท่ี่ไม่ชอบ ไม่ชัง |
นางสาว | สำรวย รัตตนะ | กสิกรรมไร้สารพิษ เป็นสิ่งที่จะช่วยให้ชีวิตเราอยู่รอดได้ดีที่สุดในยุคปัจจุบัน ดังนั้นต้องเร่งรีบทำให้เกิดผล เป็นอาชีพที่ถูกศีล มีกุศลอย่างยิ่งมีประโยชน์ต่อตนเองและแบ่งปันด้วยใจที่บริสุทธิ์ |
นาง | รมิตา ซีบังเกิด | เราต้องมีความกล้าและความยินดีให้ได้ทุกสถานกราณ์ไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้น ต้องทำความดีให้มากพอที่จะได้ดันวิบากร้ายออกไปให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ อย่าเสียเวลาในการดันวิบากร้าย ต้องมีความกล้าที่จะรับความชอบความชังในสิ่งที่เกิดขึ้นให้ได้ |
นางสาว | ปริศนา อิรนพไพบูลย์ | จากการฟังธรรมในอาพาธสูตรทำให้ระลึกถึงบททบทวนธรรมที่ 30 ที่ว่าตัวชี้วัดว่าวิธีนั้นถูกกันกับผู้นั้นทำให้สุขภาพดีคือสบาย เบากาย มีกำลัง เป็นอยู่ผาสุก ตัวชี้วัดนั้นไม่ถูกกันกับผู้นั้นทำให้เสียสุขภาพคือไม่สบายไม่เบากายไม่มีกำลังไม่ผาสุกหรือทุกข์ทรมาน ดังนั้นตัวชี้วัดที่เรากินอาหารที่สำคัญที่สุดก็ต้องดูที่มีแรงเป็นหลักจ ส่วนตัวอื่นๆจะเป็นรอง |
นางสาว | สุนันท์ พิมพ์ศรี | ลดการทำชั่วได้มาก แต่ยังติดดีอยู่มาก-มาก พยายามออกจากดีให้ได้เป็นลำดับๆ ต่อไป |
นางสาว | จรัสพักตร์ จังหวะเพลง | |
นาย | สุมิตชัย ศรีจันดี | |
นาง | ศิริพร ขาวไชยมหา | เมื่อก่อนป้าจะเป็นคิดมาก คิดวางแผนต่างๆนาๆ ทำให้นอนไม่หลับ จนเกิดโรคนอนไม่หลับ สุขภาพไม่ดีทรุดโทรม แต่พอได้มาเข้าค่าย ได้ฟังธรรมได้ฝึกลมหายใจ กดจุด ทำโดยคะ และทำมาสชิ่งพวธ.แล้วทำให้ปล่อยวางได้มาก นอนหลับสบายใจขึ้นมาก จนมาถึงวันนี้ได้ฟังธรรมจาก พวธ. ป้าสม ท่านกล่าวไว้ว่า การที่เรานอนไม่หลับ ถือว่าเราได้กำไลชีวิตแล้ว คือเราจะได้มีเวลาดููแลตัวองมีเวลาออกกำลังกาย มีเวลาทำงานให้ได้มากไป ถือว่าเราได้กำไลแล้วป้าจึงได้ดีใจไม่กลัวอะไรอีกต่อไป เพราะการที่ป้านอนไม่หลับ ป้าก็จะได้มีเวลาดูแลตัวเองให้มากๆ |
นาง | เรณู ไชยศรี | รู้สึกปลง ได้ได้ฟังคนที่มีทุกข์เพิ่มขึ้นทุกวัน |
นาง | สุรีนารถ ราชแป้น | ทำให้ได้เข้าใจในเหตุแห่ง16อย่างที่ทำให้เกิดภาวะจิตใจที่เศร้าหมองตรวจดูใจตัวเองยังมีสิ่งไหนทียังอยู่ในใจเกิดขึ้นในใจต้องขยันล้างออกเพื่อไม่ให้เหลือความเศร้าหมองในใจเรา จากค่ายนี้ทำให้จำ อุปกิเลส16ได้ |
นาง | จิตรา พรหมโคตร | |
นาง | ณัชวรรณ ศรีเพชรส่องแสง | กิเลสในจักษุมากก็มีที่มีอินทรีย์อ่อนก็มีมากที่สอนง่ายก็มีสอนยากก็มีบางเหล่าก็พ้นน้ำยางเหบ่าก็ปริ่มน้ำบางเหล่าก็จมน้ำ |
นางสาว | ปาวิดา ทองธวัฒน์ | จะมุ่งมั้นปฎิบัติตามยาทั้ง 9 เม็ด โดยเน้นเม็ด 8 และ 9 ต้องใช้ทุกวัน |
นาย | กิตติ สิริพณิชพงศธร | ได้เห็นตัวอย่างจากอาจารย์ในการพิจารณาอย่างละเอียดยิ่งขึ้นจากการจะรับบริจาค ทำให้เราฝึกต้องคิดให้ดีก่อนจะกิน จะใช้ หรือจะรับของอะไรจากใคร แม้สิ่งนั้นจะเป็นสิ่งที่เห็นว่าดีก็ตาม |
นาง | สำรวม แก้วแกมจันทร์ | ทุกข์หายฉับพลัน จากความกล้า ที่จะไม่กลัวในทุกเรื่อง |
นาง | จิตรา พรหมโคตร | สรุปสภาวะธรรมที่ได้จากการฟังธรรม คือความกล้า คือ ความดีที่จะกระทำในปัจจุบันเป็นกุศลใหม่เป็นวิบากดีไปดันวิบากร้ายในอดีต ประโยชน์ที่ได้รับ ได้ใช้ความกล้ากำจัดความกลัวของกิเลสไปทีละเรื่อง |
นางสาว | อัญชลี พุ่มแย้ม | เข้าใจในกลักการของพระพุทธองค์มากขึ้น |
นางสาว | อัญชลี พุ่มแย้ม | ทำให้เราความอยาก ลดกิเลสได้โดยตั้งศีล |
นางสาว | คูณทิพย์ วงษ์สุวรรณ | |
นางสาว | คูณทิพย์ วงษ์สุวรรณ | กล้าที่จะทำความดี สลัดความชั่วผิดศีลที่ทำให้จิตใจดำดิ่งเป็นทุกข์ กล้าคบเคารพมิตรดีสามารถกินอาหารมื้อเดียวและเลิกกินขนมได้ |
นางสาว | ว่าที่ร.ต.หญิงอำนวยพร ดวงโสภา | เรื่องกล้าค่ะกล้าอย่างเดียวทุกข์หายกิเลสลดค่ะและยังได้สัปปุริสธรรม7ด้วยค่ะกล้าหิวจากสามื้อลดเหลือาองมื้อค่ะและกล้าไม่ได้ดั่งใจนี่บ่อยค่ะเพราะปกติจะเป็นคนเอาแต่ใจตัวเองค่ะใจร้อนตอนนี้ยอมละลดลงใจเย็นขึ้นค่ะ |
นาง | ดรุณี อินทนิล | กล้าให้เกิดร้ายด้วยใจที่ไร้ทุกข์ |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | สรุปได้ เรื่องรายวันนี้ เกิดจากการคิดทุจริตผิดศีลนี่เอง |
นาย | อุดมศักดิ์ จันทร์จำปา | - |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | การทำตามใจตนเองไปเรื่อยๆ และสมใจอยากสะสมๆ ก็จะทำให้ก่อกิเลสยิ่งๆขึ้น โดยไม่รู้ตัว |
นาง | ดาวรุ่ง บัวแก้ว | ดุแลตัวเองโดยทานอาหารให้สมดุลย์กับร่างกาย โดยยึดหลักทานพอดี ทานแล้วร่างกายเบาสบาย |
นาง | ณัชวรรณ ศรีเพชรส่องแสง | บัญฑิตมีความยินดีในคนโสด ปฎิบัติศีลสมาธิปัญญาย่อมไม่ประสพภัยแต่ไหนๆเลย |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | เราต้อง สร้างอาหารด้วยตนเอง จะได้ไม่ต้องพึ่งพาชีวิตผู้อื่น ไม่ต้องใช้วิธีหาเงินเพื่อมาซื้อกิน |
นาง | พิกุล วันจันทร์ | ทำให้รู้สึกใจสงบ..โล่ง.. |
นาง | จิตรา พรหมโคตร | ได้เข้าใจสัมมาทิฏฐิ ข้อที่1 ทานที่ให้แล้วมีผล (อัตถิ ทินนัง) ไม่ว่าจะเป็นการให้ทางวัตถุข้าวของ หรือความสามารถใดๆก็ตาม ไม่ให้ตะหนี่ ประโยชน์ที่ได้รับคือ เข้าใจในการให้ทานมากยิ่งขึ้นว่าการไม่มีเงิน ไม่มีข้าวของใดๆที่จะให้ทาน แต่เราใช้ความสามารถในเรื่องที่ทำได้คือการบริการเป็นผู้รับใช้ให้กับคนในครอบครัว ญาติพี่น้อง เพื่อนพ้องคนในชุมชนเท่าที่ทำได้ |
นาง | จิตรา พรหมโคตร | ได้นำคำสอนจากการฟังธรรมมาตรวจสอบการบวชในเรื่องของเนื้อสัตว์ พบว่าการเลิกเนื้อสัตว์ของตนเองยังอยู่ลำดับของกามภพ ประโยชน์ที่ได้รับ ทำให้ทราบระดับพื้นฐานการปฏิบัติของตนเอง |
นางสาว | สุภัคษา เต่าถมตา | ทำให้วางใจในหลายเรื่องใด้ |
นางสาว | นฤมล วงศา | อาจารย์ได้เล่าถึงพระไตรปิฎก ในช่วงหลังจากที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้และติดว่าธรรมะที่ท่านตรัสรู่้นั่น ช่างยากและไม่มีใครรู้ เปรียบจำนวนผู้ที่กิเลสบางหรือทำได้ เท่ากับฝุ่นปลายเล็บเมื่อเทียบกับดินทั้งแผ่นดิน ตอนที่ฟัง มันเกิดคำถามในใจตนว่า แล้วตนละ จะมีโอกาสได้เป็นส่วนหนึ่งของฝุ่นปลายเล็บนั้นหรือไม่ ตนต้องทำอย่างไร เพื่อเร่งลดละกิเลสให้เบาบางอย่างที่พระพุทธเจ้ากล่าว ทุกครั้งที่่นึกถึงประโยคนี้ มันเป้นกำลังเร่งให้ตนมีวินัยและเข้มแข็งในการกำจัดกิเลส เพราะหลายครั้งเวลาทำงานในโลกโลกียะ มันก็ดึงพลังความคิดและความอยากมีอยากได้ไปพอสมควร |
นางสาว | สัสยา วาทยานนท์ | ประเทศไทยรอดปลอดภัยแน่นอน เนื่องจากมีผู้เสียสละที่ยิ่งใหญ่และผู้นำที่มีศีลอย่างหมอเขียวในประเทศไทย |
นาง | สุมา ไชยช่วย | กล้าในเรื่องที่พาพ้นทุกข์ กล้าให้ได้ทุกเรื่อง กล้าได้ กล้าเสีย |
นาง | ณัชวรรณ ศรีเพชรส่องแสง | ศีลจะนำสุขมาให้ทั้งปัจจุบัญและในอนาคต |
นาง | ภัคเปมิกา อินหว่าง | |
นาง | วสา ราญคำรัตน์ | หมดกังวลในทุกเรื่องเพราะสิ่งใดที่เกิดขึ้นคือเราเคยทำมา |
นางสาว | ประภาพรรณ โอษฐ์ยิ้มพราย | ชีวิตที่พึ่งตนและสานพลังกับสัตบุรษและหมู่มิตดีจึงจะพ้นทุกข์ได้และชีวิตที่พ้นทุกข์ได้ต้องได้พบสัตบุรุษและได้ฟังสัทธรรมที่บรืบูรณ์ |
นางสาว | ภนิดา ปิ่นมณี | มีจิตใจเย็นสงบมากขึ้นลดกิเลสมากตามลำดับๆ |
นาง | ภัคภร จันทราสกุล | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | เมื่อก่อน เห็นคนอื่นมีเพื่อนมากมาย สงสัยทำไมเราเพื่อนน้อยจัง ตอนนี้เลิกสงสัยแล้วค่ะ เพราะยิ่งคบคนชั่วมาก ยิ่งนำความเดือดร้อนมาให้ สู้เราไม่คบเลยยังจะดีกว่า ตอนนี้พบหมู่มิตรดีแล้วค่ะ |
นางสาว | สุภัคษา เต่าถมตา | |
นางสาว | ปาวิดา ทองธวัฒน์ | พยายามอ่านอาการกิเลสและใช้ปัญญากำจัดกิเลสที่เกิดขึ้นที่ละตัว |
นางสาว | ชุติวรรณ แสงสำลี | อย่าไปเสียเวลากับคนที่ขุนไม่ขึ้นเราได้มีโอกาสมาพึ่งตนและได้ช่วยคนที่โลกุตระนี่้้เป็นแรงเหนี่ยวนำให้คนอื่นตามมาดีที่สุดแล้วในเวลานี้ ได้เห็นความเจริญของตัวเองพัฒนาได้มากขึ้นได้ทำวิบากดีมากกว่าวิบากร้าย |
นางสาว | ชุติวรรณ แสงสำลี | |
นางสาว | ดวงพร ฤทธิ์ถาวร | เป็นแรงบันดาลใจ ในการที่ได้เข้ามาศึกษาคะ และต้องการเข้าร่วมโครงการคะ |
นาง | ดอกไม้ ปวะบุตร | เมื่อมีผัสสะมากระทบหรือเจอเรื่องไม่ถูกใจ จะใช้บททบทวนธรรมในเรื่องเราทำมาเราทำมาจะย้ำบ่อยๆจะคลายความไม่สบายใจทันที |
นาย | สุมิตชัย ศรีจันดี | วิธีการล้างความชังในสิ่งต่างๆคือให้หาข้อดีในสิ่งนั้นให้มากๆแล้วก็จะคลายความชังส่วนการล้างความชอบหรือเรื่องที่ได้สมใจอยาก สุขใจชอบใจ ไม่ได้สมใจอยากทุกข์ใจไม่ชอบใจ คือให้หาโทษหรือเห็นโทษในสิ่งๆนั้นให้ได้แล้วก็จะสามารถคลายความชอบในสุขลวงทุกข์จริงได้ประโชน์ที่ได้รับทำความเข้าใจได้และนำมาใช้ล้างทุกข์ในชีวิตประจำวันได้ดีมาก |
นางสาว | สุทัศณีย์ วงษ์กิ่ง | |
นาง | เครือแก้ว คุณะวัฒนา | กำลังทุกข์จากคนในครอบครัว เพราะเรายึดดียึดมั่นถือมั่นให้เกิดดีดั่งใจหมาย พอได้ยินอาจารย์เหมือนกำลังพูดตั้งใจพูดให้กับเราฟัง ทำให้ทุกข์มันหนีหายฉับพลันเราฟัง |
นางสาว | ประทุมทิพย์ ไชยชิตร | กล้าตัดสินใจไปฉีดวัคซีนป้องกันโควิด19 |
นางสาว | สุภารัตน์ จันโดน | ฟังธรรมทุกวันเกิดปัญญาทุกวัน พ้นทุกข์ทุกวัน |
นาง | นาง หน่อย นกจันทร์ | ปล่อยวางได้บ้างคะ |
นาง | จารุวรรณ โกมลกุญชร | กิเลส มีหลายแง่ หลายมุม ที่เมื่อมาเรียนรู้แล้ว ต้องพากเพียรเรียนรู้และตามทัน เพื่อลด กิเลส จับกิเลส ล้างกิเลสให้ทัน ไม่ควรปรมาท ไม่ควรเนิ่นช้า เพราะ กิเลสคือสุขปลอม ทุกข์จริง ที่เหมือนจริงมาก มันคือความเคยชินที่เราตามใจกิเลสมานาน จึงต้องพากเพียรล้างๆ กิเลสออกไป แม้เล็ก แม้น้อย ก้อเหม็นมาก ร้ายมาก สาธุค่ะ |
นางสาว | ณปภัช เมฆประมวล | เป็นแรงบันดาลใจ |
นางสาว | ผาสุข ตันชวลิต | กุศลธรรมจะทำให้มนุษย์มีอายุยืนไปได้จนถึง ๘๐๐๐๐ ปี และ ลดลงเรื่อย ๆ จากการทำอกุศลธรรมมากขึ้นจนอายุมนุษย์ ลดลงถึง ๑๐ ปี |
นาง | วราภา ร่าหมาน | อาจารย์บรรยายธรรมให้ฟังเข้าใจง่ายประโยชน์ที่ได้รับทำให้หมดทุกข์ จะพยายาม ปฏิบัติตัวเอง พ้นทุกข์ ตามคำที่อาจารย์สอน พึ่งตัวเองได้แล้ว จะได้ช่วยเหลือผู้อื่น ที่กำลังทุกข์อยู่ ตั้งใจปฏิบัติค่ะ ไม่เร่งผล ไม่กังวล ค่อยๆทำไปค่ะ สาธุค่ะ |
นาง | 3 เพ็ญศรี มงคลชาติไทย | ได้ฟังธรรมะที่อาจารย์พูดซ้ำๆแล้วเข้าใจมากขึ้น |
นางสาว | ว่าที่ร.ต.หญิงอำนวยพร ดวงโสภา | พิจารณาโทษของกิเกสสุขสมใจอยากว่าเป็นสุขชั่ววูบเป็นทุกข์สลายทิ้งได้จะมีพลังไม่เสียดายรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัสสุขสมใจอยากมีโทษเป็นไม่เที่ยงเป็นทุกข์กลัวไม่ได้ตามที่อยากเสียพลังไปสร้างทุกข์เสียพลังไปลดทุกข์ได้แล้วกลัวหมดไปเมื่อมีเรื่องร้ายเข้ามาในชีวิตเราขังไม่ได้กลัวไม่ได้เพราะเป็นทุกข์ละความชังด้วยความชอบยินดีให้ได้กล้ารับให้ได้ยินดีเท่านั้นกลัวไม่ได้กล้าเท่านั้นชอบรับชอบให้หมดไปกล้ารับกล้าให้หมดไปความกลัวคือมารปราบมารเลยกล้ารับให้หมดไปยินดีรับให้หมดไปใจจะพ้นทุกข์ทันทีเยิกบานแจ่มใสพลังเป็นของเรากายแข็วแรงใจเต็มร้อยวิบากดีดันวิบากร้ายออกดูดสิ่งดีเข้ามาดันสิ่งร้ายออกไปถ้าเรามีปัญญาแม้ทุกข์ยังหาสุขได้หาประโยขน์ได้กล้ารับใจเราสดใสไร้กังวลเบิกบานแจ่มใสสุขกายสบายใจไร้กังวลอะไรจะเกิดก็เกิดกล้ารับกล้าให้หมดไปไม่อาลัยในกิเลส ประโยชน์ที่ได้รับทำให้กล้าและยอมยอมความผิดหสังที่ไม่ได้ดังใจอยากทุกเรื่องยาวเรื่องจะเป็นนางยักษ์เลยเหมือนท่านอาจารย์ว่าแต่พยายามควบคุมตัวเองอยู่ประบปรุงเปลี่ยนแปงแก้ไขอยู่ค่ะได้ |
นางสาว | ผาสุข ตันชวลิต | สภาวะที่ได้ คือ การเบื่อหน่ายในกามคุณ ๕ / โลกธรรมทั้งหลาย และกำลังล้างอัตตาไปทีละตัว อย่างเต็มกำลัง |
นาง | กัญจนา อยรมชอบ | ไดฝ |
นางสาว | รสริน สังข์เกื้อ | ฟังแล้วทุกข์หาย จากที่เคยศึกธรรมะนานมาเป็นสิบกว่าปี แล้วมารู้จักอาจารย์์ ประมาณสี่เดือนกว่า ก็รู้สึกยิ้มได้จากที่ไม่ยิ้มมาตั้งนาน |
นาง | ณัชวรรณ ศรีเพชรส่องแสง | บุคคบที่ไม่ควรเสพไม่ควรคบเป็นคนเลวในศีลไม่ควรนั่งใกล้บุคคลที่ควรนั่งใกล้จะมีการปรารภในศีลมีแก่พสกเราอันมีศีลเสมอกันโดยปัญญาที่ควรนั่งใกล้ |
นางสาว | ผาสุข ตันชวลิต | ให้ระวังแง่มุมกิเลสที่หลอกให้เราคิดและทำให้ใจเป็นทุกข์ ประโยชน์คือ การเฝ้าระวังและคอยสังเกตุความคิด |
นาง | เฟื่องฟ้า นภาคะเวช | |
นาง | นปภา รัตนวงศา | กุศลกรรมบถ10 คือหนทางแห่งการกระทำความดี (กุศล)10ทาง 1.ปาณาติปาตา เวรมณี(เว้นจากการฆ่าสัตว์) 2.อทินนาทานา เวรมณี(เว้นขาดการลักทรัพย์) 3.กาเมสุมิจฉาจารา เวรมณี(เว้นขาดการประพฤติผิดในกาม) 4.มุสาวาทา เวรมณี(เว้นขาดการพูดเท็จ) 5.ปิสุณาย วาจาย เวรมณี(เว้นขาดคำส่อเสียด) 6.ผรุสาย วาจาย เวรมณี(เว้นขาดคำหยาบ) 7.สัมผัปปลาปา เวรมณี(เว้นขาดคำเพ้อเจ้อ) 8.อนภิชฌา(ไม่โลภอยากได้ของผู้อื่น) 9.อพยาบาท(ไม่มีจิตคิดร้ายผู้อื่น) 10.สัมมาทิฏฐิ(มีความเห็นที่ถูกตรง) พระไตรปิฎกเล่ม 24 "จุนทสูตร"ข้อ165 |
นางสาว | กมลชนก ทุมวงษ์ | เมื่ออาจารย์พูดถึงอบายมุขสิ่งที่ไม่ดี ก็มานึกถึงตัวเองว่าก่อนที่จะมาเข้าค่ายสุขภาพแพทย์วิถีธรรมก็ได้ทำสิ่งที่ไม่ดีในเรื่องอบายมุขต่างๆเช่นเที่ยวกลางคืน ซื้อหวย แต่เมื่อได้ฟังธรรมะของท่านอาจารย์มาเรื่อยๆตัวเองก็ได้ลดละเลิกในสิ่งที่ไม่ดีต่างๆ เหล่านั้น ทำแต่ดีก็จะมีความสุขกายสุขใจ |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | เป็นกุศลที่ได้เรียนรู้ของอริยสัจ4ที่อาจารย์บรรยายทำให้ได้ปัญญาจากการกลัว ระแวง หวั่นไหว ใจกังวล ทั้งหลายแหล่นั้นคือคือตัวกิเลสของความอยากทำใก้เกิดทุกข์เมื่อได้ศึกษาอริยสัจ4อย่าตั้งใจใฝ่เรียนรู้ฟังคำสอนจากสัตรบุรุษและนำมาปฏิบัติจะพบหนทางเดินสู่ความพ้นทุกข์ |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | ทุกชีวิตถ้าไม่พึ่งตนมีแต่ทุกข์ ไม่ลด ไม่ละกิเลสสร้างสมแต่ความอยากชีวิตจะมีแต่ตายกัยตายชีวิตมีแต่พังและพังฟังธรรมแล้วได้สติและปัญญาพาพ้นทุกข์อย่างฉับพลันกราบขอบพระคุณอาจารย์ท่านผู้ให้และให้และให้สถานเดียวสาธุค่ะ |
นาง | 3เพ็ญศรี มงคลชาติไทย | ได้รับประโยชน์ในเรื่องการลดทุกข์การทำใจให้ไม่กลัวให้มีความกล้าแล้วจะพ้นทุกข์ได้ |
นางสาว | รัตนา กิจเกื้อกูล | เกิดปัญญา รู้แนวทางในการดับทุกข์ตามความเป็นจริงของปุถุชน และกล้าที่จะรับวิบากร้ายด้วยใจที่เป็นสุข |
นางสาว | ป่านแก้ว ศรีไกรสิทธิ์ | ทำให้มีความรู้เรื่องการทำเกษตร แบบ ปลูกอยู่ ปลุกกิน กินอาหาร ธรรมชาติ ผักที่ขึ้นตามฤดูกาล ใช้ชีวิตพอเพียง ไม่พึ่ง เงินมากนัก เป็นคนเลี้ยงง่ายๆ อยู่กับธรรมชาติ |
นาง | พรพรรณ เอ็ทสเลอร์ | ร่วมสายพลังกับหมู่มิตรดี มีแต่เจริญอย่างเดียว ไม่มีเสื่อม |
นาง | จุฑามาศ วอล็อกเกอร์ | ได้ตระหนักถึงผลร้ายที่จะตามมาถ้าสภาฯออกกฎหมายให้มี casino มีความเป็นไปได้สูงที่จะเกิดอาชญากรรม การฉกชิงวิ่งราว โสเภณี ค้ายาเสพติด มีโรคร้าย ซึมเศร้า คิดมาก กังวล ไม่จบสิ้น |
นาย | ทรงยุทธ อัคโกศล | พิจารณาข้ดดีของสิ่งที่ชัง ถ้าหาไม่ได้ให้ใช้เป็นตัวอย่างที่ชั่วที่เราจะไม่ทำแบบนั้น |
นางสาว | สุภัคษา เต่าถมตา | กล้ารับกับทุกอย่างที่เกิดขึ้นในชีวิต |
นางสาว | ตรีทิพย์นิภา ไทยรักษา | อะไรจะเกืดก็รรบรต็มๆน้อมใจรับรับแล้วก็หมดไปพอยอมรับได้ทุกสิ่งทุกอย่างก็สะลายหรือจบหายไปสาธุ |
นาง | รมิตา ซีบังเกิด | คนลดกิเลสไปทีละเรื่องไ จะมีปัญญาในการแก้ปัญหาให้ตัวเองพ้นทุกข์ได้ ใจที่คิดผิดจะสร้างวิยากร้ายก็แก้ที่ใจ คิดให้ถูกพุทธะจะทำให้พละกำลัง ถ้าคิดผิดก็จะได้รับวิบากร้าย พอกลับใจเหตุการณ์ที่ร้ายๆก็จะดีขึ้นในทันที เรื่องดีก็จะเพิ่มจึ้น วิบากร้ายก็จะลดลงเช่นกัน |
นาง | ณัชวรรณ ศรีเพขรส่องแสง | กล้าที่ไม่ได้กล้ากำจัดกิเลส |
นาง | วันเพ็ญ ตั้งสกุลวงศ์ | สภาวะธรรมที่ได้รับ เหมือนกันท่านอาจารย์ บรรยายบอกเรา ท่านบรรยาย ซ้ำๆ หลายครั้งมาก และครั้งนี้ท่านบรรยาย 2 วัน ติดๆกัน มีสภาวะธรรมท่านบอกเราว่า ให้พิจารณาถึงโทษของการรับประทานอาหาร และให้พิจารณา มากๆๆๆ ซ้ำๆๆ วนๆๆๆ |
นาง | นบชุลี เสาวนา | |
นาง | นปภา รัตนวงศา | คนผมยาวหาคนมีปัญญาไม่ได้สักคน ต้องเห็นว่าใจทุกข์มันไม่มีประโยชน์แม้แต่นิดเดียว ให้พิจารณาโทษจนละลาย ไม่เสียดาย จนเป็นอรหันต์ให้ได้ พิจารณาให้เห็นแต่โทษไม่มีประโยชน์แม้แต่นิดเดียว เห็นแต่ทุกข์เท่านั้น พิจารณาโทษของกิเลสมีหลายเหลี่ยมหลายมุม ถ้ายังสุขอยู่แสดงว่ายังมีมุมอื่นที่เรายังไม่พิจารณาจะไม่มีทางสลาย สภาพอรหันต์จะไม่เห็นเลยว่ามันเป็นประโยชน์มันเป็นโทษอย่างเดียว จะเห็นทุกข์เท่านั้นไม่สุขเลย ด้านดีให้เราเห็นคุณค่าและยินดีในการทำ แต่เมื่อใดที่ดีเกิดไม่ได้ให้วางว่ากรรมมี 2 ลักษณะ สุขสมใจอยากเป็นทุกข์ จะเสียพลังไปลดทุกข์ชั่วคราว กลัวจะไม่หมดไป กลัวจะเข้ามา ชีวิตก็ทุกข์ตลอดกาล เกิดเรื่องร้ายเข้ามาในชีวิต เราต้องไม่ชัง ไม่กลัว เพราะมันเป็นทุกข์ ให้ละอรติ ด้วยปราโมทย์ เข้ามาแล้วให้กล้าเท่านั้นเพราะเป็นร้ายที่เราทำมาส่งเสริมมา ความกลัวคือมาร มาเพื่อหมดไปจะไปกลัวอะไร ความกล้าคือพุทธะ |
นาง | มณเฑียร ธโนปจัย | |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | ถ้าละการติดชั่วไม่ได้ ก็ไม่สามารถละการติดดีไม่ได้ |
นางสาว | ปัทมา ลีฬหาวงศ์ | ได้ฟังอาจารย์พูดถึงการทำกสิกรรมไร้สารพิษ พึ่งตน ทำเศรษกิจพอเพียงประหยัดเรียบง่ายช่วยเหลือเกื้อกูลกันซึ่งเป็นสิ่งที่เราปฏิบัติและเห็นผลจริงพึ่งตนเองได้และช่วยเหลือผู้อื่นได้จริงทบทวนตนเองแล้วได้ประโยชน์ทั้งตนเองและผู้อื่นการเกษตรจะทำให้ประเทศไทยมีฐานรากที่แข็งแรงหากชาวยกันทำจริงๆ |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | สรุปสภาวะธรรม มิจฉาทิฏฐินำไปสู่ทุกข์ ให้ละด้วยสัมมาทิฏฐิ 10 จึงจะนำไปสู่ความพ้นทุกข์ นายก |
นางสาว | ธนภร ฤทธิแผลง | |
นางสาว | อัญชลี พุ่มแย้ม | ต้องไม่มีความกลัว ความกังวล หวั่นไหว ร่าเริงแจ่มใสที่จะดูแลผู้ป่วย |
นางสาว | สุดใจ โสะหาบ | สภาวธรรมที่ไดรับทำให้จิตใจเบิกบานเป็นสุขมากขึ้นมีบางวันที่มีความเครียดกับเหตุการณ์ในชีวิตประจำวันทำให้มีเรื่องทุกข์ใจกังวลใจแต่เมื่อกลับมาถึงห้องได้เข้าซูมมาฟังอาจารย์บรรยาธรรมะชี้แนะแนวทางดับทุกข์ด้วยความกล้าทำให้ตัวเองได้ใช้ความกล้าดับทุกข์ใจดับความกังวลใจได้ทันทีค่ะทำให้จิตใจเบิกบานค่ะ |
นางสาว | ธัญมน หมวดเหมน(มั่นแสงธรรม) | ทำให้มั่นใจยิ่งขึ้นว่าสิ่งที่ทำให้ชีวิตมีคุณค่าและความผาสุกอย่างแท้จริงคือ การพึ่งตนและช่วยผู้อื่นให้พ้นทุกข์ตาม และการจะช่วยผู้อื่นให้พ้นทุกข์ได้เราต้องพ้นทุกข์ให้ได้ก่อนและการจะพ้นจากทุกข์ได้เราต้องเรียนรู้อริยสัจ 4 ให้ลึกซึ้งและนำมาปฏิบัติให้ถูกตรงอย่างจริงจังตั้งมั่น และปฏิบัติตามหลัก 5 ข้อในการแก้ปัญหาทุกปัญหาในโลกคือ 1.คบและเคารพมิตรดี 2.มีอริยศีล 3.ทำสมดุลร้อนเย็น 4.พึ่งตน 5. แบ่งปันด้วยใจที่บริสุทธิ์ |
นางสาว | วิภาวัลย์ ถนัดธรรมกุล | เกิดทุกข์เพราะยึดดี อยากทำข้อสอบ มสธ ให้สอบผ่านมาก เกิดความยากมากทุกข์ใจก็เกิดตามลึกๆในใจ ทำให้ไมามีความสงบในใจ มาตรวจทุกข์ เห็นตัวยึดอยากใหญ่มาก ดับทุกข์นิโรษ จะสอบผ่านก็ได้ไม่ผ่านก็จะสบายใจ วางความยึดว่าต้องดีต้องได้ดั่งใจลงได้ มรรคผลเกิดทุกข้นั้นก็ดับจางคลายลงได้ |
นาย | คมเวช หงส์เชิดชัย | ผู้ใดตัดกิเลสได้ มีแต่เบิกบานแจ่มใส พิจารณาโทษของกิเลส กิเลสก็จะสลายอย่างเต็มใจ ทำให้จิตเบิกบานใจไร้ทุกข์ ผาสุก |
นาง | กัญจนา อบรมชอบ | ชอบคิดเรื่องอดีตที่เคยพลาดทำ |
นางสาว | ชุติวรรณ แสงสำลี | คนจะพ้นทุกข์เพราะฟังธรรม ฟังได้ดีย่อมเกิดปัญญา นำมาพิจารณา เรื่องไหนที่ทำได้รีบทำอย่าช้าปล่อยเวลาให้เสียเปล่าประโยชน์ เวลาแต่วันสันเร็วนัก |
นางสาว | ศิรินภา คำวงษ์ศรี | ยังมีตัสอยากทำให้ได้อย่างที่อาจาย์แบบทำได้สมบูรณ์ แต่ทุกวันนี้ก็ยังอยากกินอาหารอร่อย ๆ อยู่ การเสพกิเลสแบบสมใจอยาก ก็ทำให้เจอวิบากร้าย ผีเข้าตลอด จะพากเพียรต่อไปค่ะ |
นางสาว | เอ็นดู พูลสวัสดิ์ | ผู้ที่มีปัญญาพิจารณาให้เห็นจนกิเลสละลาย |
นาง | พิกุล วันจันทร์ | |
นางสาว | เอ็นดู พูลสวัสดิ์ | ความกล้า8ประการ |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | ควรหมั่นประชุมกันเป็นเนืองนิตย์ ประโยชน์ที่ได้รับ จะได้ช่วยกันแสดงความคิดเห็น สิ่งที่ผิดพลาดจะได้ช่วยกันแก้ไข ส่วนที่ดีก็จะได้ทำต่อไป |
นาง | พรรณธิพา แย้มบัว | กล้ารับความจริงที่เกิดขึ้น ทั้งดีและร้าย เพราะล้วนแล้วเราทำมาทั้งสิ้น |
นาง | มณเฑียร ธโนปจัย | นั่งรับฟังธรรมภาคเช้าที่ครัวเพราะต้องหั่นผักไปด้วยทุกวัน และยินดีใจผาสุก ส่วนฟังธรรมมาะภาคค่ำก็มานั่งฟังธรรมพร้อมหมู่ในความหนาวเย็นแต่สู้หนาวได้ ตั้งใจฟังทุกวันจนถึงเวลาเลิกมีความมุ่งมั่น บางวันก็เขียนลงสมุดได้ ฟังทุกวันใจผาสุก |
นางสาว | อุบล พลรบ | ธรรมะตรงไหนที่ได้รับฟังทำให้เรุารู้ชัดยิ่งขึ้นล้างกิเลสค่ะ คือเวลาเรามีผัสสะกับเพื่อน เรามีวิธีล้างใจคะถึงไม่ได้ในทันทีทันใด แต่เราก็มีแนวทางค่ะ พิจารณาความทุกข์ใจของเราได้ ในเวลาไม่นานนะบางเรื่อง แต่บางเรื่องก็ยังพากเพียรอยู่ สรุปว่าการฟังธรรมช่วยแก้ปมในใจเราได้_ |
นาง | สายพิมพ์ ลิ้มไพบูลย์ | ทำให้เห็นสัจธรรมที่พุทธองค์ ได้ทรงตรัสไว้ว่าโลกเข้าสู่กรียุคใกล้เข้ามาแล้ว |
นาย | ศรายุทธ พูนพิน | ทำให้ได้ปัญญาฆ่าความอยากได้นิสัยดีๆจากแม่ของแฟนชอบคิดทุกข์ทำให้เกิดความเจ็บป่วยปวดเมื่อยกล้ามเนื้อไม่หายคิดห่วงกังวลลูกหลานจนนอนไม่หลับเครียดไม่มีความสุข.. ไม่ชอบใจลูกสาวบวชชีพราหม์มาอยู่บ้านที่ไม่ยินดีเต็มใจพอใจจะช่วยงานท่าน.. แต่เต็มใจยินดีที่จะช่วยงานเราแม่ของเรา.. เพราะศรัทธาในความเป็นนักปฏิบัติธรรมให้โอกาสในการปฏิบัติธรรม.... เราพยามจะข่วยท่านให้เลิกห่วงเลิกกังวลด้วยบททบทวนธรรมแต่ท่านก็ทำไม่ค่อยได้.. ปรากฏว่าเราทุกข์ซะเอง.. เพราะเราไปอยากได้ให้แม่เลิกห่วงกังวลลูกหลานให้อภัยลูกสาว |
นางสาว | สำรวย รัตตนะ | - กิเลส ลดได้ยากแสนยาก ถ้าไม่ลองจะไม่รู้ ลองแล้วจะรู้ว่ายากจริงๆ พาเราหมดแรงดีใจแวบหนึ่งเพลียล้า เจ็บป่วย เศร้าหมอง -ละความชังด้วยความยินดี หาผลประโยชน์ให้ได้จากความชัง |
นางสาว | ประภัสสร ชาญชัยชูจิต | อบายมุขเป็นสิ่งที่ไม่ควรเข้าเกี่ยวข้่องด้วยไม่ว่ากรณีใด ๆ มีแต่จะท สำหรับประโยชน์ที่ได้รับคือ การไม่ยุ่งกับอบายมุขชีวิตมีแต่ความเจริญทั้งทางธรรมและทางโลก |
นาง | จำปา ลัคณาสถิตย์ (แอ๋ว) | เราไม่กลัวกิเลสกล้าที่จะกำจัดมันที่ละเรื่องเราก็จะหายทั้งทุกข์หายทั้งโรคที่เราเป็นอยู่ |
นาง | กุลประภัสสร์ สุขบาง | ไม่กลัวตาย ไม่กลัวว่าตายแล้วจะไปเกิดมีภพภูมิใด ก็ยอมรับได้ ตามผลของวิบากกรรม เชื่อมั่นว่าอานิสงส์ของการศึกษา+ปฏิบัติธรรม (โดยฟังคลิบของหลวงพ่อปราโมทย์ชี้แนะด้ารการวิปัสสนา) แยกรูป แยกนาม จิตรู้ตามดูขันธ์ 5 มีสติบ่อยๆ |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | แค่คำสอนของท่านอาจารย์เพียงไม่กี่ประโยคเดียว เท่านี้ มันช่วยปรับความคิดที่จะเอาดีจากคนอื่นของเราได้มากมาย วันนี้กำลังทุกข์ใจเรื่องจะเอาดีจากลูก ฟังธรรมแล้วหายทุกข์ใจได้มากเลยค่ะ |
นางสาว | ประภัสสร ชาญชัยชูจิต | สภาวะธรรมที่ได้จากการฟังธรรม |
นางสาว | ผาสุข ตันชวลิต | เป็นการล้างอัตตาและปฏิบัติจุลศีลสูงสุด |
นางสาว | ผาสุข ตันชวลิต | ในชีวิตประจำวันสิ่งที่ต้องพบเจอปละปรับสมดุลนั้น มิใช่จะมีเพียงเรื่องอาหาร แต่รวมถึง ผู้คนและเหตุการณ์ ที่เราต้องใช้วิจารณญาณให้การประมาณการให้เหมาะสม เพื่อเข้าถึงสภาวะสมดุลนั้นได้ |
นาง | เฟื่องฟ้า นภาคะเวช | |
นางสาว | สำรวย รัตตนะ | - กิเลสจะหรอกให้เราไปเอาสุขเทียม ชำระกิเลสได้ เพิ่มพลังดีลดพลังร้าย - ยินดีรับ ยินดีให้หมดไป กล้ารับ กล้าให้หมดไป เอาประโยชน์ให้ได้ใจเราก็จะเป็นสุขทันที - อย่าคบคนไม่มีศีลอให้คบคนที่มีศีลจึงจะปลอดภัย |
นางสาว | ผาสุข ตันชวลิต | ผู้ที่ยอมแพ้ ยอมรับทุกอย่างตามความเป็นจริง จะได้ล้างอัตตา ความยึดมั่นถือมั่นในตน |
นางสาว | นฤมล วงศา | กล้าที่จะแพ้และยอมรับความผิดหวัง เป็นสิ่งที่ฉลาดและจะทำให้ตนไม่ผิดหวัง หม่นหมอง การบรรยาธรรมในเรืองนี้ ตรงกับใจของตัวเองในช่วงนี้อย่างยิ่ง ปัญหาที่ผ่านมาในเรื่องงานทีตนทุกข์ ผิดหวังหรือไม่พอใจ มันมาจากความคาดหวังส่่งดีจากผู้อื่นนั่นเอง พอได้ฟัง ใจก็เริ่มทบทวนและยิ้มออกมาได้บ้าง |
นางสาว | พุธพรรณ ศรีธรรมูปถัมภื | สภาวะธรรมที่ได้จากการฟังธรรม สงบ มีสมาธิ มีปัญญามากขึ้นในการดำรงชีวิต เป็นแบบอย่างให้กัลยาณมิตรหันมาดูแลสุขภาพ มีปัญญาที่จะแก้ปัญหาสุขภาพได้ในแต่ละวันด้วยการปรับความสมดุลย์ร่างกาย ร้อน เย็น ให้ดีได้ ไม่เกิดทุกข์ใจ มีความสุขจาการแบ่งปันทรัพย์ที่มี แบ่งปันอาหารจากการทำกสิกรรมธรรมชาติ กสิกรรมไร้สารพิษ ทานอาหารจานหลักมื้อเดียว สบายกาย สบายใจ เบากาย มีกำลัง สุขภาพดีขึ้นมาก |
นางสาว | ดรุณวรรณ แซ่ห่าน | การไม่อยากได้ทุกข์ก็เป็นทุกข์ , ต้องกล้าหาญ เราต้องเป็นนักรบสู้กับกิเลสตายเป็นตายเราจะไม่ยอมเป็นทาสมันอีกแล้ว ท่านอาจารย์หมอเขียว บอกหนทางพาพ้นทุกข์ให้แล้ว ดิฉันจะพากเพียรกล้าหาญจะลุกขึ้นเป็นนักรบที่ไม่ยอมแพ้กิเลสอีกต่อไปคะ |
นางสาว | พวงบุปผา หนูรัก | เมื่ออยากได้สิ่งใดไม่ได้สื่งนั้นนั่นคือทุกข์ วิธิแก้คือเลิกอยาก ประโยช์ที่ได้รับคือ ออกจากทุกข์ได้โดยไม่ต้องไปสนองในสิ่งที่อยาก ยินดีที่ไม่ได้ในสิ่งที่อยาก ปรพโยชน์สูงสุดคือพ้นทุกข์ |
นางสาว | ศิริพร คำวงษ์ศรี | คนที่พ้นทุกข์ที่แท้จริง คือ ต้องหาสุขในทุกเรื่องให้ได้ โดยเฉพาะสิ่งที่ชัง |
นางสาว | นรา แสงหิรัญวัฒนา | เข้าใจความกลัวเรื่องการปรับตนตามสภาวะอากาศที่ต้องมีความพอดี เมื่อรู้สาเหตุก็ปรับสมดุลอาหารใหม่ด้วยใจร่มๆ โดยพิจารณาประโยชน์ โทษ และการเกิดขึ้น ตั่งอยู่ ดับไป ของเหตุปัจจัยนั้นๆ |
นางสาว | นรา แสงหิรัญวัฒนา | ช่วงนั้นกำลังวนเวียนกับการเลี้ยงสัตว์เลี้ยงในบ้าน ด้วยความกลัวว่าเลี้ยงแบบนี้บาปแย่ แต่พิจารณาแล้วว้าหากเอาไปปล่อยแม่น้ำปลาอายุขนาดนี้ ตัวขนาดนี้ เค้าตายแน่ๆ จึงยอมรับความจริงว่า เมื่อมีการเอาเค้ามาเลี้ยง และเราก็ปฎิบัติกับเค้าเหมือนญาติ ก็คงดูแลกันไปอย่างดีจนกว่าจะจากกันไป ดีกว่ามาคิดวนเวียน |
นางสาว | สุนันท์ พิมพ์ศรี | อาหาร4 จำเป็นสำหรับชีวิต มีทุกอย่างที่อยากได้ มีทุกอย่างที่ต้องทำเพื่อลดกิเลสความอยาก ความทุกข์ |
นาง | นรภัทร พงษ์เสาร์ | มีใจไร้ทุกข์ ปรับสมดุจร้อนเย็น |
นาง | ณัชวรรณ ศรีเพชรส่องแสง | คนที่ได้สมใจอยากจะไม่เห็นทุกข์และไม่ได้ล้างกิเลส คนที่เห็นทุกข์เร็วคือคนที่ไม่ได้สมใจอยากคนในโลกส่วนใหญ่ไม่กล้าไม่กล้าสมใจอยากจึงไม่เห็นทุกข์ได้สมใจอยาก”เห็นทุกข์จึงเห็นธรรม”ทำอะไรไม่ได้สมใจอยากมีค่ากว่าทำอะไรได้สมใจอยาก ถ้าเรากล้าไม่ได้สมใจอยากและยินดีเต็มใจรับสิ่งไม่ได้สมใจอยากถึงเวลาเราจะได้ไปรับเพราะรอเราอยู่ |
นาง | นฤมล แป้นคุ้มญาติ | ทำตามอย่างเข้าใจเต็มใจพอใจใจเย็นเห็นทุกข์ลดทักได้ |
นางสาว | จรัสพักตร์ จังหวะเพลง | ทำให้เข้าใจศีลและกิเลสที่ละเอียดมากขึ้น |
นางสาว | พันธุ์ทิพา นุชทิม | ประโยชน์ที่ได้รับ ปิติ อิ่มเอิบ เบิกบาน |
นางสาว | สุทัศณีย์ วงษ์กิ่ง | การไม่เข้าร่วมฟังบรรยายธรรมทำพลังมีน้อยลดลงคะทั้งกายใจ ประโยชน์ที่ได้ฟังธรรมเราได้ไปรับผัสสะกับผู้คนมากๆทั้งหมู่คนมีความดี(ผิดศีล)เราไม่ชังคนที่ดีน้อยมีความผิดศีลเป็นส่วนมากทำให้เห็นคนมีทั้งดีและไม่ดีรวมๆกันทำให้กลับมาเห็นตัวเองคะสาธุธรรมคะ |
นางสาว | สำรวย รัตตนะ | - อย่าอยากได้สิ่งใดๆจากใครเป็นสิ่งที่หาได้ยาก อยากเป็นทุกข์ ไม่อยากไม่ทุกข์ หมดอยากหมดทุกข์ ผาสุกยั่งยืน - อย่าโง่สร้างทุกข์ให้ตัวเองด้วยการอยากได้ดีจากคนอื่นที่เขาไม่ให้ - ทำที่เรา พ้นทุกข์ที่เรา จบทุกข์ที่เรา ไม่ต้องไปรอใครเท่านี้ก็หายทุกข์ - กล้ายอม ยินดี กล้าเสียหายได้ทุกเรื่องเป็นคนเก่งศีล เก่งพุทธะ เก่งพ้นทุกข์ดีที่สุด |
นางสาว | รุ่งนภา เพ่งรุ่งเรืองวงษ์ | อาพาธสูตร เป็นคำแนะนำในการปฏิบัติเพื่แรักษาโรค |
นางสาว | ไปรยา เพื่อนพิมาย | |
นางสาว | สำรวย รัตตนะ | - ทำอะไรไม่ได้ตามที่อยาก มีค่ามากกว่าทำอะไรได้ตามที่อยาก - ดีไหนเป็นไปได้ก็อยาก ดีไหนเป็นไปไม่ได้ก็หยุดอยาก - ถ้าได้สมใจอยากคงไม่เห็นทุกข์ - หยุดอยาก พ้นทุกข์ถาวร - เอาแต่ใจตัวคือชั่วโดยอัตโนมัติ |
นาง | สุรีนารถ ราชแป้น | ทำให้ได้เข้าใจการเกิดทุกข์เป็นไปตามลำดับ ได้มากขึ้น และนำมาล้างทุกข์ได้ |
นาง | สมใจ สิทธิพงษ์ | ตอนที่ยังไม่ได้ฟังก็แยากให้คนในครอบครัวเข้าใจเราบ้าง พอฟังแล้วก็เข้าใจแล้วว่าเพราะเรายึดดีเราอยากทำสิ่งที่ดีๆๆ ตามที่เราเห็นดี แต่เขาไม่เห็นด้วย อยากให้เขาเข้าใจเราบ้าง ได้ฟังแล้วเขาจะเข้าใจเราหรือไม่เข้าใจเราก็ได้ เพราะเราเคยทำมาทั้งนั้นพอใจวางได้ก็หายอยากค่ะ |
นางสาว | อุษา บุตรพรม | ตรวจใจตัวเองได้เร็วขึ้น วางทุกข์เป็นใจเย็นขี้น |
นาย | พูลศักดิ์ โสภาวัฒนะโรจน์ | ไม่ได้ฟัง |
นางสาว | ผาสุข ตันชวลิต | เข้าใจขั้นตอนในการทำใจในใจอย่างชัดเจน ขึ้นทุกระยะที่มีการฟังธรรม |
นางสาว | ผาสุข ตันชวลิต | การยอมรับผิด สารภาพผิด สำนึกผิด นั้น เป็นวิบากดี ที่จะดันเรื่องร้ายออกไปได้เร็ว |
นาย | สุนทร คำเหลือง | สงสัยในบางคำพูด บางประโยชน์ที่จิตเข้าไม่ถึงใจมีสุขและมีทุกข์เข้าแสก |
นางสาว | บังเอิญ ทองมอญ | ไม่เร่งผลในการรักษาอาการเจ็บป่วยด้วยตนเอง ทุกอย่างต้องรอเวลาและปัจจัยที่ประจวบเหมาะและสอดคล้องกัน ทำให้ใจไม่ทุกข์ จนลืมไปว่า เรารอคอยให้หายเจ็บป่วย สุดท้ายมาดูอีกที หายป่วยแล้ว |
นางสาว | วิญญา จันทะพล | อยากได้ความดี ต้องบำเพ็ญเอาเองถึงจะเกิดผล , เริ่มที่เรา จึงจะกระจายไปสู่ผู้อื่นได้, แก้ได้ก็แก้ แก้ไม่ได้ก็ไมต้องแก้, โดนกิเลสหลอกก็หลอกกิเลสกลับบ้างและ ความกล้าคือความพ้นทุกข์ |
นางสาว | บังเอิญ ทองมอญ | ทบทวนได้ว่าที่ผ่านมากินอาหารที่มีฤทธิ์ร้อน เช่น พริกแกงเผ็ด ของทอด นอนดึก จึงทำให้ริดสีดวงทวารกำเริบ ได้แนวทางในการปรับปรุงตัวเองใหม่ โดยกินน้ำปั่นสมุนไพรฤทธิ์เย็น |
นาย | วิชิต กองคำ | กามมันเหมือน เหมือนฟองน้ำฟองน้ำพยับแดด ต้นกล้วยมายากลมันเกิดดับอย่างรวดเร็ว ฟองน้ำ แป๊บเดียวก็แตกโพ๊ละ ฝนตกใส่ฟองน้ำ คลื่นเกิดขึ้นมาเดี๋ยวก็หายไป เกิดขึ้นมาเดี๋ยวก็หายไป พยับแดดยิบยับยิบยับ แดจ้ายิบยับยิบยับ เกิดแล้วก็ดับ เกิดแล้วก้ดับ ไม่นาน เกิดแล้วก็ดับ ต้นกล้วยผ่าเข้าไปจะเอาแก่น มายากลลวง เป็นมายา มายากล มายากลลวง มายากลลวง จริงแล้วมันไม่ได้มีอะไรหรอกเขาเตรียมไว้หมดแล้ว เสกนกมาเดี๋ยวก้หายไป เสกไฟมาเดี๋ยวก็หายไป มันไม่ได้พาพ้นทุกข์อะไร ก็แค่เอาอันนี้ออกมาตอนนี้ เอาออกมาตอนนี้ออกมาตอนนี้เฉยๆ ไม่มีอะไร ไม่มีสาระอะไร ไม่ได้ช่วยให้ใครพ้นทุกข์ เกิดดับเกิดดับหมดแรงทำ มันก็ไม่ได้มีประโยชน์อะไร เกิดดับเกิดดับเกิดดับอยู่อย่างนั้น เดี๋ยวก็เอาอันนี้โผล่ออกมา เดี๋ยวก็เอาอันี้โผล่ออกไป มันเกิดดับเร็วเหมือนมายากล เวลาเขาจะเอาอะไรออกมาเอาอะไรออกมา กลับไปเร็วไหม เร็ว มันเกิดดับเร็วมันไม่เที่ยง ไม่เกินสิบนาทีบวกลบหรอกเผลอๆ มีเหตุการณไม่ดีเข้ามามากๆบปรุงสุขไม่ออกเลย เศร้ามากๆญาติเสียชีวิตเอาของอร่อยที่อร่อยที่สุดในโลกจะอร่อยไหม ไม่อร่อยเลย มันปรุงอร่อยไม่ขึ้นเลย ปรุงอร่อยไม่ขึ้นเลย บางทีก็อร่อยวินาที แว๊บเดียวหายแล้ว ไม่ต้องอะไรมากอยู่ในปาก ไปให้กินเลยของที่ชอบเคี้ยวนานๆ ท่องเลยอร่อยอย่าไปไหน อร่อยอย่าไปไหน เคี้ยวเคี้ยวไปไม่ต้องกลืน น่ะมันจะอยู่ไหม อยู่เราถึง 10 นาทีไหม ไม่ถึงหรอกหายไปต่อหน้าต่อตานั่นแหละ มันไม่เที่ยง มันไม่เที่ยง ขนาดสัมผัสอยู่หลัดๆ ยังหายไปต่อหน้าต่อตาเลยใช่ไหม |
นาง | ณัชวรรณ ศรีเพชรส่องแสง | คนมีกิเลสมากๆก็หาวิธีเสพความอยากไปทำอกุศลสร้างวิบากร้ายลดวิบากดีที่มีอยู่เสียพลังเมื่ออยากไปสร้างทุกข์หมดพลังดีทำให้ดันเรื่องร้ายรากเง้าเกิดจากความอยากทั้งสิ้น |
นาง | ภัคเปมิกา อินหว่าง | |
นาง | ณัฐพร คงประเสริฐ | ลด ละ เลิกิเลสความติดยึดในเรื่องที่เหลืออยู่เมื่อมีผัสสะมากระทบได้ไวขึ้น |
นาง | ชลิดา วรรณเกษมสุข | เป็นหมอดูแลตัวเอง |
นาย | กิตติ สิริพณิชพงศธร | ทำให้เราดึงสติกลับมาปัจจุบันได้เร็วขึ้น เลิกเสียเวลากับการพยายามแก้ไขอดีตที่ทำไม่ได้ และลดความกังวลในเรื่องที่ยังไม่เกิดได้ |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | ใช้ความกังวลให้เป็นประโยชน์จับตัณหาในจิตใจ |
นาง | ศิริพร ขาวไชยมหา | คุณสมบัติทั้ง 5 ข้อนี้ ใช้ได้กับทุกคน ไม่ว่าท่านจะทำอาชีพอะไรท่านควรมีทั้ง 5ข้อนี้ เป็นศิลธรรมประจำตน ชีวิตจะผาสุกและราบรื่นไ |
นางสาว | พริมรัศมิ์ จิวเลิศเลขา | สำหรับหัวข้อ "อาศัยมูตรเน่าเป็นยา" ในสมัยก่อนมูตรจะหมายถึงปัสสาวะโค ระหว่างมูตรโคและมูตรคนไม่ต่างกัน เราสามารถใช้ปัสสาวะของเรามารักษาได้ "อัตตาหิ อัตตโน นาโถ" ตนเป็นที่พึ่งแห่งตนอยู่ในคำสอนของพระพุทธเจ้าตรัสว่าทุกสูตรสอดคล้องกัน ไม่ขัดแย้งในการนำปัสสาวะของตนเองมาใช้ในการรักษา อีกหัวข้อที่เตือนสติเราในเรื่องของทุกคนมีกรรมเป็นของตนต้องได้รับผลจากการกระทำนั้น (อย่าโกรธ) พิจารณาว่าเราหรือใครได้รับอะไรที่ไม่ดี ผู้นั้นทำมา ต้องไปรับผลจากการกระทำนั้น (อย่ากังวล) พิจารณาว่าทำดีที่ทำได้ ไม่วิวาท อย่างรู้เพียรรู้พักให้ดีที่สุดใจไร้กังวลที่สุด (การพิจารณาเพื่อปราบมาร) ความกลัวเวลาเจ็บป่วยหรือพบเรื่องร้าย ทำใจว่าโชคดีอีกแล้ว ร้ายหมดอีกแล้วรับเต็มๆหมดเต็มๆ |
นาง | สำรวม แก้วแกมจันทร์ | เมื่อถึงยุคสมัยที่ขัดสน จะเกิดการแย่งชิงกัน ทำให้ชีวิตของสัตว์ทั้งหลายเดือดร้อน แล้วก็เสื่อม สลายไป ชีวิตที่เหลืออยู่ต้องปฏิบัติอย่างคนวรรณะ 9 คือ เป็นตนเลี้ยงง่าย บำรุงง่าย มักน้อย กล้าจน สันโดษ ใจพอ ขัดเกลา กำจัดกิเลส มีศีลเคร่ง น่าเลื่อมใส ไม่สะสม ปรารภความเพียร เป็นยอด ประโยชน์ที่ได้รับ คือ เป็นคนพอเพียง เรียบง่าย เบิกบาน ผาสุก ทุกข์น้อยลงๆ |
นาง | จิตรา พรหมโคตร | |
นาง | นบชุลี เสาวนา | สภาวะธรรม ฟังแล้วเข้าใจเรื่องวิบากกรรมที่เราเคยทำมา และสามารถนำเหตุการณ์ที่ผ่านเข้ามา นำไปปรับพฤติกรรมให้เราได้คิดดี ทำสิ่่งดี ๆ |
นาง | พิกุล วันจันทร์ | |
นาย | ธนวินท์ อินทนิล | |
นางสาว | ส้สยา วาทยานนท์ | ประเทศไทยจะรอดเพราะพวกเราร่วมกันคัดค้าน |
นาง | ณัชวรรณ ศรีเพชรส่องแสง | กายศีลสุจริต ใจศีลสุจริต วาจาศีลสุจริต |
นาง | นฤมล แป้นคุ้มญาติ | ปฎิบัติตามยา9เม็ดเทคนิค9ข้อโรคทุกอย่างหายหมด |
นางสาว | ผาสุข ตันชวลิต | ความอยาก ทำให้เกิดความทุกข์ใจ ดับปัญหา กับที่ต้นเหตุ |
นางสาว | ผาสุข ตันชวลิต | การได้เห็นสิ่งต่างๆตามความเป็นจริง เป็นก้าวแรกที่สำคัญในการเข้าสู่อุเบกขา ใช้การพินิจ พิจารณา ประกอบกับการสำรวมอินทรีย์ |
นางสาว | ผาสุข ตันชวลิต | การได้อ่านเวทนาทางกายและใจ จึงจะรู้ได้ว่า ยังมีกิเลสตัวใดที่มีอยู่และทำให้ใจเป็นทุกข์ได้ / ธรรมะแท้ สามารถพิสูจน์และเห็นจริงได้ ด้วยตัวของเราเอง เอหิปัสสิโก และ เป็นจริงตลอดกาล อกาลิโก |
นาย | มงคลชัย วิชาธรรม | กิเลสหลอกแน่นนอน ถ้าไม่ได้ฟังธรรมของอาจารย์หมอเขียว ต้องหลงเชื่อแน่นนอน ประโยช์ที่ได้รับคือไม่หลงตามกิเลส |
นางสาว | ปาวิดา ทองธวัฒน์ | เราต้องพากเพรียรปฎิบัติลดละกิเลสไปเลื่อยๆ เราไม่สามารถจะทำให้กิเลสหมดไปในคราวเดียวได้ |
นางสาว | สุภารัตน์ จันโดน | ถ้าเราไม่กำจัดกิเลสของตนเองจะสังเกตุว่า มีเรื่องร้ายต่อตนเองและผู้อื่น มีเหตุการณ์ที่ไม่ดีเพิ่มขึ้น# คนมีปัญญาจะได้ระมัดระวังการคิดการทำมากขึ้น |
นางสาว | นฤมล ยังแช่ม | ทุกอย่างต้องเริ่มต้นที่ตัวเราเองก่อน ปฏิบัติที่เรา จนเป็นที่พึ่งของตนเองได้แล้ว จึงจะช่วยเหลือผู้อื่นได้ ประโยชน์ที่ได้รับคือ ความรู้ ปัญญา ที่จะปฏิบัติตนให้พ้นทุกข์ได้ด้วยชีวิตเรียบง่าย ร่างกายแข็งแรง จิตใจดีงาม จิตใจเป็นสุข |
นาง | เกษร อินต๊ะปัญญา | ขีวิต จะพ้นทุกข์ หยุดอยาก หยุดทุกข์ ผาสุกยั่งยืน |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | การทำดี ดีที่สุดแล้ว แต่ยังมีวิบากร้ายมาเป็นระยะก็ไม่กังวล |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | พระพุทธเจ้าท่านให้ความสำคัญของการดับทุกข์การดับทุกข์ได้นี้ประโยชน์สูงสุดคือการปฏิบัติอริยสุจ๔ดับกิเลสได้จะเป็นสุขทั้งปวงพ้นทุกข์อย่างสมบูรณ์ |
นาย | ภิญโญ หมื่นจร | ก่อนหน้านี้มีแต่ทุกข์ เมื่อได้ฟังธรรมะของพระพุทธเจ้าที่อาจารย์หมอ นำมาบรรยายให้ฟัง ฟังแล้วเข้าใจ จับกิเลสเป็นกำจัดกิเลสได้ ทุกๆวันมีแต่ความเบิกบานไม่ทุกข์เหมืนแต่ก่อน สุขภาพกายใจดีขึ้นมากๆ |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | องค์ท่านพระพุทธเจ้าท่านจะไม่อธิบายสิ่งที่ไม่พ้นทุกข์การดับทุกข์ได้นี้ประโยชน์ที่สุดด้วยการปฏิบัติอริยสัจ๔นี้คือความสำคัญของการดับทุกข์ |
นางสาว | วิภา ถิ่นถาน | ทำให้คลายทุกข์ |
นาง | นาง ชลิดา วรรณเกษมสุข | |
นาง | 3 เพ็ญศรี มงคลชาติไทย | ฟังซ้ำๆแล้วเข้าใจได้มากขึ้น |
นาง | เวียงทอง นุ่นถักดี | เมื่อเราทำผิดพลาดเราต้องยินดีในการทำผิดพลาดนั้นแล้วเอาสิ่งที่รู้ว่าสิ่งไม่ดีที่พลาดทำนั้นมาสอนเราไม่ให้ทำแบบนั้นอีก อย่าทำทุกข์ทับถมตนเพราะทุกคนต้องเคยทำไม่ดีมาทั้งนั้นจึงมีวิบากต้องทำพลาดได้เป็นธรรมดา |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | ค่อยๆ ฝึกฝน ค่อยเป็นค่อยไป แล้วจะได้โดยอัตโนมัติ |
นาง | อรทัย สุทธิเสน | ดีและนำไปปฏิบัติได้ |
นาง | ภัคภร จันทราสกุล | |
นางสาว | ว่าที่ร.ต.หญิง อำนวยพร ดวงโสภา | ได้ธรรมที่กล้ารับวิบากร้ายเกิดและยินดีรับยินดีหมดไปค่ะเพราะเวลาไม่ได้ดังใจใจจะร้อนรนเป็นไฟเป็นนางยักเหมือนท่านอาจารย์บอกเวลาจะเอาอะไรต้องได้ดังใจตลอดค่ะประโยชน์คือกล้ารับในสิ่งที่หวังแล้วไม่ได้ตามหวังค่ะบางทีหลุดจนลูกสาวบอกแม่กิเลสนะแม่นี่คือผลพลอยได้ค่ะตัวเราเองฟังเรียนแต่คนช่วยเตือนสติคือลูกสาวค่ะเข้าใจธรรมมากขึ้นค่ะรุ้จักควบคุมอารมและอดทนได้มากขึ้นค่ะ |
นางสาว | ประภาพรรณ โอษฐ์ยิ้มพราย | กิเลสน้อย กุศลจะมาก วิบากน้อย หากผิดพลาด จะรู้ตัวได้เร็วจะประมาณอะไรได้ดี แก้ไขได้ผลดี คนฉลาดต้องพากเพียรลดกิเลสให้ได้จะดีกว่า...คนกิเลสมาก กิเลสหนา จะมีพลังไปเหนี่ยวนำคนอื่นทำตามในความอยาก ในสิ่งไม่ดี วิบากจะมาก ผิดพลาดมาก แก้ไขอะไรไม่ได้ ปัญญาดับ จะไม่ได้ข้อมูลจริง ยิ่งโง่ ยิ่งทุกข์ ...ประโยชน์ที่ได้รับ เมื่อได้ฟังแล้ว มาพิจารณาแล้ว เราควรลดกิเลสลงให้มากในแต่ละเรื่อง เช่นเรื่องกินอาหาร กินมากก็อิ่มเกิน อึดอัด แน่นท้อง เราจะรู้เลยว่า ต้องลดอาหารลงมาเช่นลดข้าวลง กินกับพอประมาณ ในวันๆเราจะสังเกตตัวเองได้ว่าแค่นี้เป็นไง ไหวรึไม่ กินเนื้อมะพร้าวมากไป ผื่นแผลพองอีก เราต้องลดลงหรือหยุดกินไปอาจจะกินวันเว้นวัน หรือหยุดไปก่อน ซึ่งก็อยู่ที่เราจะกินอย่างไร ต้องปรับเปลี่ยนดูด้วยตัวเราเองไปตามลำดับ ให้สบายๆให้อยู่ท้องในวันๆ เรียนรู้ด้วยตัวเองไปทุกๆวัน |
นางสาว | รสริน สังข์เกื้อ | ฟังแล้วได้นำมาปฏิบัติและได้ถือศีลด้วย ประโยช์ที่ได้รับ ทำให้จิตเบิกบานแจ่มใส หายวิตกกังวล กล้าหาญทำการงานสิ่งที่เราชอบ และเริ่มมีสุขภาพแข็งแรงด้วย |
นางสาว | ว่าที่ร.ต.หญิงอำนวยพร ดวงโสภา | กล้ารับวิบากร้ายยินดีรับไม่ชังให้ชอบกล้ารับกล้าให้เกิดยินดีรับรับเท่าไรหมดเท่านั้นดูตัวเ งอาการที่ไม่ได้ดั่งใจหวังแล้วไม่ได้ตามหวังยินดีรับคิดว่าเป็นที่เราทำมาทำไมทำมาจึงกล้ารับกล้าให้เกิดคิดได้ลดความกระวนกระวายร้อนรนในใจได้เยแะค่ะใจเย็นมากขึ้นอดทนมากขึ้น |
นาง | ณัชวรรณ ศรีเพชรส่องแสง | ตรวจใจดีๆในแต่ละวันให้รู้จักพอใจถ้าเราพอใจจะมีพลังให้อายุยืน…อย่าลืมพอใจ |
นางสาว | รุ่งนภา เพ่งรุ่งเรืองวงษ์ | การอ่านบททบทวนธรรมเป็นการเพิ่มพลังชีวิต คุณค่าและความผาสุกของการเป็นคนคือการพึ่งตนและช่วยคนพ้นทุกข์ |
นางสาว | นรา แสงหิรัญวัฒนา | ทำให้ได้สติตอนกำลังวางแผนการทำฟันให้พี่สาว ความอยากให้พี่มีการปฏิบัติตามแผนการรักษาที่ดี ทำให้ทุกข์ เพราะพออยากก็หวังว่าเค้าต้องเชื่อเพราะเราปรารถนาดี แต่จริงๆคงเป็นการคิดจากความอยาก พอฟังอจ.สติกลับมา เลยพิจารณากลับมาเดินสายกลาง ให้พอดีๆ กะฝับความต้องการของพี่เคเาดีกว่า |
นางสาว | นรา แสงหิรัญวัฒนา | การทำงานที่ยึดว่าควรทำอย่างนี้จึงจะดี (ตามความคิดเรา) แลัเพ่งยึดเกิน ทำให่เกิดโทษ และผิดศีลโดยไม่รู้ตัว เมื่อได้ฟังทำให้ลดความยึดนั้นได้ไวขึ้น น |
นางสาว | ศิริกัญญา ศรีประสม | การปฏิบัติธรรมที่แท้จริง ต้องล้างความชอบ ความชัง สุขปลอมทุกข์จริงให้ได้ |
นางสาว | ธัญมน หมวดเหมน(มั่นแสงธรรม) | ทำให้มีจิตตั้งมั่นในการทำบุญชำระกิเลส และทำกุศลช่วยเหลือผู้อื่น ด้วยการร่วมบำเพ็ญกับหมู่มิตรดีเพื่อสร้างสรรค์สิ่งดีมีประโยชน์ ให้กับตนเองและผู้อื่นให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ทำใจให้เป็นสุขมีชีวิตชีวาอยู่กับทุกปัจจุบัน ด้วยการทำความยินดี พอใจ ในสิ่งที่เราได้รับ ไม่อยากได้ดีอะไรจากใครเกินกว่าที่เป็นไปได้จริง ไม่เบียดเบียนใคร พยายามหยุดชั่วและทำดีอย่างเต็มที่แล้วยอมและกล้าให้เกิดสิ่งเลวร้ายสุดๆ ในชีวิตทุกเรื่องให้ได้ ประโยชน์ที่ได้รับคือทำให้ใจไม่ทุกข์ ทำให้เป้าหมายหรือสิ่งที่ตั้งใจไว้สำเร็จได้ง่ายได้เร็ว เพราะใจที่ไม่ยึดมั่นถือมั่นว่าสิ่งที่เราทำจะสำเร็จมากน้อยแค่ไหน เมื่อได้พยายามทำอย่างเต็มที่แล้วก็ปล่อยวางให้เป็นไปตามวิบากดีร้ายของแต่ละชีวิตตามกุศลอกุศลของเราและคนที่เกี่ยวข้องว่าจะได้รับอะไรมากน้อยแค่ไหน โดยไม่มีพลังความอยากแบบยึดมั่นถือมั่นของเราไปเป็นวิบากร้ายกั้นสิ่งดีที่ควรจะเกิดได้ตามเวลาอันควร เมื่อเราได้ตั้งใจทำดีอย่างเต็มที่เต็มแรงแล้ว ก็ไม่มีอะไรที่ต้องทุกข์ใจเพราะเข้าใจความจริงตามความเป็นจริงว่าสุดท้ายแล้วทุกสิ่งทุกอย่างก็ต้องดับไปไม่มีอะไรเป็นสมบัติของใคร และรู้ว่าหน้าที่เราคือทำแต่ละสิ่งแต่ละอย่างให้อยู่ในสภาพที่ดีที่สุดเท่าที่จะพึงทำได้ ให้โลกและเราได้อาศัย ก่อนที่ทุกสิ่งทุกอย่างจะดับไปเท่านั้น |
นางสาว | วิมลวรรณ สินธุจริวัตร | |
นาย | สุมิตชัย ศรีจันดี | เลิกอยาก เลิกขอ เลิกหวัง หายทุกข์ ดีไหนทำได้อยากทำทำได้ ดีไหนทำไม่ได้ก็หยุดหยาก หยุดทำ ชีวิตควรจะหมดหวังหมดอยาก ประโยชน์ที่ได้รับนำหลักธรรมมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันลดอยากลดทุกข์ในแต่ละเรื่องๆไปตามลำดับ |
นาง | ณัชวรรณ ศรีเพชรส่องแสง | พอใจในแต่ละวันตรวจใจดูดีๆรู้จักพอใจเป็นกำลังเป็นพลังให้อายุยืน |
นางสาว | อัญชลี พุ่มแย้ม | การพึ่งตนเอง อยู่อย่างพอมีพอกิน กยุดอยากก็หยุดทุกข์ |
นางสาว | เอ็นดู พูลสวัสดิ์ | การทำดีดีที่สุดแล้วแต่ยังมีวิบากร้ายมาเป็นระยะก็ไม่กังวลยินดีรั |
นางสาว | เอ็นดู พูลสวัสดิ์ | การดับทุกข์ได้มีประโยชน์ที่สุดด้วยอริยสัจสี่บ |
นาย | สุนทร คำเหลือง | ได้ลดความยากตามที่ชอบ เป็นบางครั้ง ใจไม่ค่อยฟุ้งซ่านมากเหมือนเมื่อก่อน |
นางสาว | ปาวิดา ทองธวัฒน์ | การเรียนรู้ไม่ใช่แค่ "ภาษา" แต่ต้องปฎิบัติให้ได้ "สภาวะ" เราต้องเรียนรู้ให้ถูกตรง จึงจะพ้นทุกข์ได้ |
นางสาว | ศิริพร คำวงษ์ศรี | ไม่ว่าจะติดดีหรือติดชั่ว ก็มีโทษทั้งนั้น พากเพียรพรากจากความชั่วให้ได้ แต่ก็จะเฝ้าระวังการติดดีด้วยความยึดมั่นถือมั่นจนทำให้มีวิบากร้าย จากความโลภอยากให้ได้ดีดั่งหมายตามมา พอไม่ได้ก็ตกนรกทั้งเป็น เร้าร้อนอยากให้ได้ดั่งใจ น่าอาย อย่าได้หาทำ ยังติดอยู่ ก็ต้องพากเพียรล้างต่อไป |
นาง | เฟื่องฟ้า นภาคะเวช | |
นาง | ชวนพิศ แก้วประดิษฐ | |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | หมายความว่า ใจเป็นประธานของสิ่งทั้งปวง ใจเป็นใหญ่ ใจประเสริฐที่สุด ทุกสิ่งสำเร็จได้ด้วยใจ ประโยชน์ที่ได้รับ ถ้าจะทำสิ่งดี ต้องยินดีที่จะทำ จึงจะสำเร็จ |
นางสาว | นมลชนก แก้วเกษ | ประโยชน์ที่ได้รับ ได้น้อมนำคำสอนมาฝึกทำใจคิดตามมาฝึกปฏิบัติ เวลาเจอผัสสะมากระทบ เห็นอาการกิเลส บอกสอนกิเลสให้เปลี่ยนมาคิดตามพุทธะ หมั่นตรวจตนเอง ถามตัวเองเสมอๆว่าหวัง อยากแบบยึดมั่นถือมั่นในเรื่องใดบ้าง มันติด มันยึด มันอยาก มันหวัง มันหวั่นไหวเรื่องใดบ้างในแต่ละวันๆ ถ้ามีให้มาฝึกคิดแบบพุทธะ "กล้าที่จะไม่ได้ตามที่อยาก" |
นางสาว | สุภัคษา เต่าถมตา | กล้าและไม่กลัวอะไรในโลกใบนี้ และทำความดีต่อไปจนกว่าชีวิตจะสิ้น |
นาง | จิตรา พรหมโคตร | สภาวะธรรมที่ได้จากการฟังธรรมของท่านอาจารย์หมอเขียว ดร.ใจเพชร กล้าจน 4 ประการคือ 1. อย่าเบียดเบียนผู้อื่น 2.หยุดอยากได้ดีจากผู้อื่นเสียที 3.ยอมเสียหายได้ทุกเรื่อง 4.มีความสุขในทุกปัจจุบัน ประโยชน์ที่ได้รับได้น้อมนำคำสอนไปปฏิบัติได้ผลจริงๆ |
นางสาว | นฤมล วงศา | (ความกลัว ความหวั่นไหวในการใช้ชีวิตที่เหมือน วัวไม่มีหนัง หลงฆ่าลูกตน) ในช่วงวันที่อาจารย์ขยายความทำให้ตนเห็นภาพสภาวะในจิตของตนชัดขึ้น ทุกวันมีแต่ความคิด ความกลัวตามกิเลสความอยากที่ไม่เคยจบ เมื่อได้ฟังทำให้เราเริ่มมีสติ และพยายามหยุด ทำตรงข้ามอย่างที่อาจารย์สอน ตอนนี้ ตนจึงเร่ิมคลายใจ เบาใจได้มากขึ้น สามารถยิ้มรับกับบางปัญหาที่เกิดและวางปัญหาบางอย่างได้ง่ายขึั้น |
นาง | ชลิดา วรรณเกษมสุข | ดีคะผึงเข้ามาแต่ก็เรืยนรู้ให้ได้มากฯคะ |
นางสาว | วาสนา ทูลแก้ว | สภาวะธรรมที่ได้รับ ได้คบและเคารพมิตรดี นำพากันมาบำเพ็ญที่ภูผาฟ้าน้ำช่วงระหว่างวันที่ 2-12 Dec, 2021 โดยมาทำกสิกรรมไร้สารพิษ และทำโรงบุญเนื่องในวันพ่อแห่งชาติ |
นาง | พรรณธิพา แย้มบัว | ทำใจยอมรับได้ทั้งเรื่องดีและร้ายเพราะเราทำมาทั้งสิ้น กล้าที่จะเสียหายได้ทุกเรื่อง ทุกอย่าง เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับเพราะสุดท้ายก็ไม่มีใครได้อะไร |
นาง | ภัคเปมิกาอินหว่าง | |
นาง | ภัคเปมิกา อินหว่าง | |
นางสาว | พุธพรรณ ศรีธรรมูปถัมภ์ | การเพิ่มศีล จะมีสิ่งดีดี เข้ามาในชีวิต วิบากร้ายลดลง วิบากดีมากขึ้น |
นาง | ดอกไม้ ปวะบุตร | |
นางสาว | ตรีทิพย์นิภา ไทยรักษา | ปล่อยว่างฯมีเกิดมีดับ |
นาง | รมิตา ซีบังเกิด | ทำอะไรไม่ได้ามที่อยากมีค่ามากกว่าได้ตามที่อยาก คนที่มีความอยากมากจะกลัวและทุกข์มาก ในการทำงานร่วมกับหมู่มิตรดีเราจะเห็นอัตตาตัวตนชัดเจนขึ้นยิ่งขึ้นๆ |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | สรุปสภาวะธรรม ทุกข์ทางกายทุกข์ทางใจทุกข์จากเรื่องร้าย ล้วนเกิดจากความอยาก ประโยชน์ที่ได้รับ ถ้าเราไม่อยากทุกข์ ต้องดับความทุกข์จากความอยาก |
นาง | ดรุณี อินทนิล | ไม่อยากก็ไม่ทุกข์ ให้แล้วคิดที่จะไม่เอาอะไรจากใคร ให้ได้ |
นางสาว | ชุติวรรณ แสงสำลี | ใจเป็นสุขทุกวัน ล้างกิเลสได้ทุกวัน ฟังธรรมไป ทบทวนสาระธรรมไปด้วย พิจารณาฟังธรรมด้วยปัญญา แม้ยามค่ำอากาศหนาวเย็น อ.ยังสู้บรรยาย เราเองผู้ฟังก็พากเพียร นั่งรับฟังได้เป็นบางวัน ถ้ามีอากาศหนาวเย็นมากก็ยอมขอมานั่งฟังในเต็นท์จะดีกว่า รู้จักอริยสัจ คือรู้จักกิเลส เหตุแห่งทุกข์คือตัณหาความอยาก ความกลัวว่าจะไม่ได้ตามที่อยาก อวิชชาเป็นความหลงกิเลสคือมารร้าย จิตวิญญาณคือความดี ทำความดี ความดีจะคุ้มครอง ทำความชั่ว ความชั่วจะไล่ล่า |
นางสาว | ชุติวรรณ แสงสำลี | |
นาง | จำปา ลัคณาสถิตย์ (แอ๋ว) | สุขที่สมใจอยากทีไม่ได้สมใจอยากกำจัดกิเสลไปที่ละเรื่องถ้าทำได้แล้วเราจะไม่ถอยหลังแน่นอนเป็นสุขทุกเรื่องที่ผ่านเข้ามาในชีวิตให้ได้ |
นางสาว | กมลชนก ทุมวงษ์ | การทำกสิกรรมไร้สารพิษ การปลูกอยู่ปลูกกิน มีของกินของใช้ที่มีประโยชน์ต่อชีวิต กินสมุนไพรอย่างไรเรียนรู้แล้วน้อมนำคำสอนของท่านอาจารย์มาใช้ในชีวิตประจำวันปลูกพืชผักใส่ในกระถาง ปุ๋ยก็ทำเองลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน ประโยชน์ที่ได้รับ มีความสุขกับการได้ทำกสิกรรมแม้จะน้อยนิดแต่ก็ภูมิใจทำเต็มที่ก็สุขเต็มที่ |
นางสาว | ประภัสสร ชาญชัยชูจิต | สภาวะธรรมที่ได้จากการฟังธรรม |
นางสาว | วิภาวัลย์ ถนัดธรรมกุล | กกสิกรรมไร้สานพิษปลูกอยู่ปลูกกินนำพาให้อยู่รอดแน่นอน |
นาย | คมเวช หงส์เชิดชัย | ได้ทบทวนธรรม ได้ฟังแง่มุมที่หลากหลาย ได้เห็นการทำสิ่งผิดกฏหมายให้ถูกกฏหมาย |
นาย | นายศรายุทธ พูนพิน | ทำให้ได้เรียนรู้.. การปรับสมดุลร้อนเย็ยในช่วงฤดูหนาว.. บ้างวันก็หนาวมาก.. หนาวน้อย... ขึ้นๆลงๆทำให้กระตุ้นโรคภูมิแพ้หวัดน้ำมูกใสจามแก้ด้วยการกินอาหารปรับสมดุล.. เช่นข้าวต้มปรับสมดุล.. ใส่ถัวแฟงฟักทองขิงกระเทียม เพิ่มการฝึกปรับลมหายใจมาร์ชโยคะทำงานกลางแดดเช่นตัดหญ้าเดินเก็บผักพื้นบ้าน |
นาง | จิตรา พรหมโคตร | ได้ฟังธรรมะพาพ้นทุกข์ เรื่องทุกข์อริยสัจ4 เมื่อมีทุกข์เข้ามาเราจะปฏิบัติอย่างไรก่อน ซึ่งเปรียบเทียบความทุกข์ที่เกิดขึ้น 2 อย่าง คือ ทุกข์กับอาการเจ็บป่วยของร่างกายเหมือนไฟไหม้หัว และทุกข์ที่เกิดขึ้นกับเหตุการณ์เหมือนผ้าที่ถูกไฟไหม้ สภาพไฟไหม้หัวเป็นตัวแทนของร่างกายที่เจ็บป่วย สภาพไฟไหม้หัวเป็นตัวแทนของเหตุการณ์ต่างๆ วิธีดับทุกข์ ให้ดับทุกข์ใจที่เกิดขึ้นกับสภาพร่างกาย และเหตุการณ์ต่างๆก่อน เพราะทุกข์ใจคือ ทุกข์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก ในแต่ละวันให้ตรวจ ความอยาก ความกลัว อะไรที่เกิดขึ้นกับเราให้เอาเป็นเอาตายกับการดับทุกข์ใจให้ได้ เรียนรู้อริยสัจ 4 แล้ว ปฏิบัติให้ได้ ถ้าปฏิบัติไม่ได้ เหตุการณ์ เรื่องร้ายก็จะกลับมาอีก ประโยชน์ที่ได้รับ ได้องค์ความรู้ที่จะนำไปปฏิบัติกับตนเอง |
นาง | ภัคเปมิกา อินหว่าง | |
นางสาว | ประทุมทิพย์ ไชยชิตร | ทุกข์หายฉับพลัน เมื่อเราไม่ชอบไม่ชัง ไม่ยึดมั่นถือมั่น ยอมให้ดีไม่เกิด เมื่อเราอยากให้เกิดดีดั่งใจหมาย เมื่อเรายอมให้ดีไม่เกิดได้ ใจก็เบาสบาย ไม่ทุกข์ |
นาง | สายพิมพ์ ลิ้มไพบูลย์ | พยายามยินดีในทุกเวลา พยายามตรวจสอบว่า เราพลาดอะไรและยินดีในข้อผิดพลาด จะได้เลิกทำและประเมินการในสิ่งที่ถูกเหมาะสมต่อตนเองและผู้อื่น ประโยชน์ที่ได้รับเป็นการตรวจสอบสภาวะและข้อผิดพลาดของตนเองในแต่ละวันได้อย่างถูกต้องและถูกตรง |
นางสาว | ประทุมทิพย์ ไชยชิตร | กล้าที่จะไม่กลัว กล้าที่จะไม่กลัว 8 ประการ |
นางสาว | ปัทมา ลีฬหาวงศ์ | เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงพึ่งตนเองได้ช่วยประเทศชาติประหยัดงบประมาณได้งบประมาณในการแก้ปัญหาในเรื่องcovidน้อยลงการปรับเปลี่ยนชีวิมากินน้อยใช้น้อยใช้แก้ปัญหาได้ทุกมิติ |
นางสาว | สุนันท์ พิมพ์ศรี | |
นางสาว | สุนันท์ พิมพ์ศรี | -ยินดีเข้าร่วมโครงการแบ่งปันอาหาร -เมื่อไรเราจะเลิกอยากได้ดีจากคนอื่นเขาเสียที บอกตัวเองให้เลิกอยากได้ดี ซ้ำๆๆๆ |
นาง | ปาริชาติ จันทร์นวล | ไปวัดปฏิบัติธรรมวันพระทุกวันพระ |
นาง | ณัชญ์ชาพัฒ วงศ์วิวิทย์ | รู้สภาวะของกิเลส จิตจำทบทวนธรรมได้ เอามาล้างทุกข์ใจได้บ้าง |
นางสาว | สำรวย รัตตนะ | การบำเพ็ญต้องทำทั้งประโยชน์ตนและประโยชน์ท่าน การผิดศีลทำให้ชิงชังรังเกียจ กังวล ระแวงหวั่นไหว มีความเดือดร้อนทั้งหลายทั้งปวง |
นางสาว | ปาวิดา ทองธวัฒน์ | เราเคยพลาดทำชั่วดูถู ดูหมิ่น ไม่เคารพสัตตบุรุษมาหาที่ต้นที่สุดไม่ได้ จึงต้องยอมรับวิบากที่จะเกิดขึ้นด้วยความเต็มใจ |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นาง | เฟื่องฟ้า นภาคะเวช | ได้ฟังธรรมสบายใจชอบฟังเสียงอาจารย์ นำไปปรับใช้ในชิวิตประจำวัน |
นาง | เรณู ไชยศรี | ใจสบายเบากาย |
นางสาว | อุษา บุตรพรม | ใจเย็น สงบ นิ่ง ขึ้น |
นาง | นปภา รัตนวงศา | จากข่าว #ถ่ายโอน รพสต ได้อำเภอละ 2แห่ง ไม่เกิน 60แห่ง แพทย์แผนตะวันออกถูกปิดกั้นเยอะโดยเฉพาะ แผนการรักษาของพระพุทธเจ้า ถูกปิดกั้นบางอย่างพึ่งตัวเองได้เลย โดยดูไปเป็นรายๆว่าผู้ป่วยต้องใช้แบบไหน โดยเฉพาะ รพสต.ที่เจ้าหน้าทึ่เป็นคนดีมีคุณธรรม เปิดใจกว้างรับการรักษาแพทย์หลากหลายร่วมกับ เทศบาล อบต ว่ามีองค์ความรู้อะไรที่พอจะช่วยประชาชนได้ โกยใช้ร่วมกับแพทย์แผนปัจจุบันที่ถูกแทรกแซงด้วยแพทย์แผนตะวันตกแต่กระทบสาธารณะสุขก็ไม่เอาทั้งๆที่ท่านนายกรัฐมนตรี ก็มีนโยบายให้ใช้ร่วมกันแต่ กระทรวงรับลูกไม่ได้เพราะเรียนมาด้านตะวันตกไปอย่างเดียว ทำให้ระบบสุขภาพไม่พัฒนาเท่าที่ควร ไม่เหมือนประเทศจีนจะบูรณะร่วมกันทั้งคู่ อะไรมีจุดเด่นก็จะเอามาใช้อย่างเต็มศักยภาพ แต่เมืองไทยแพทย์แผนตะวันออกถูกปิดกั้นประชาชนไทยจึงเสียโอกาส ทั้งแพทย์แผนไทย แพทย์ทางเลือก แพทย์พื้นบ้าน ที่ไทยอับจนเพราะต้องยืมเงินมาแก้ปัญหาเรื่องโควิด ปัญหาสาธารณสุขไม่เอาแพทย์แผนอื่นมาใช้เอาแต่ใช้แผนปัจจุบันอย่างเดียวซึ่งมีค่าใช้จ่ายเยอะ เมื่อไหร่ผู้บริหารกระทรวงสาธารณสุขลดอัตตาลงได้วันนั้นสุขภาพคนไทยจะดีมากเลย ตอนนี้มีรพสต.หลายที่ที่เอาพวธ.ไปใช้ร่วมด้วยเช่น รพสต.ท่าไคร้ จ.กาฬสินธ์ที่ทำให้ค้าใช้จ่ายลดลงไปเป็นครึ่ง ช่วยลดความแออัดืี่า่งไปรพ.ใหญ่ได้เป็นอย่างดี ยกตัวอย่างห้องพยาบาลที่ ภูผาฟ้าน้ำ มีทั้งแพทย์ พยาบาล แต่ก็ไม่ค่อยได้ทำงานเพราะสามารถพึ่งตนเองได้ คนไทยน่าจะมีช่องทางออก แต่รอกระทรวงสาธารณสุขจะยากเพราะคนเก่งทั้งนั้น และเรียนแพทย์แผนตะวันตกอย่างเดียว ศาสตร์ของอาจารย์จึงเจาะได้ยาก |
นาง | เฟื่องฟ้า นภาคะเวช | |
นางสาว | นฤมล วงศา | การดับความกลัว ด้วยความกล้า ให้กล้ารับเพราะหากเรามีวิบากร้อย ยังไงเราก็ต้องรับ แต่หากเรามีวิบากดี ยังไงสิ่งร้ายนั้นก็ทำอะไรเราไม่ได้ ธรรมะเรื่องนี้ทำให้เวลาทำงาน สามารถผ่อนคลายความกังวล ยอมรับภาระหน้าที่งานได้อย่างเต็มใจ ไม่ทุกข์ แก้ปัญหาที่เกิดด้วยใจที่เป็นสุขขึ้น ไม่คิดเกียงงอน ผัดผ่อน |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | การดูถูกคนอื่นมากๆเข้าจะดึงคนมาทำไม่ดีต่อเรา ทำอะไรก็สำเร็จยาก ลำบาก |
นาง | ภัคเปมิกา อินหว่าง | |
นาง | จิตรา พรหมโคตร | วันที่ 16 ธันวาคม 2564 ได้ฟังธรรมะเรื่อง อริยสัจ4 เป็นหัวใจหลักสำคัญของความพ้นทุกข์ ความสำคัญของการพ้นทุกข์อยู่รอดและปลอดภัยอยู่เย็นเป็นสุขที่แท้จริงมันก็คือ ความพ้นทุกข์ ความผาสุกที่แท้จริงนั้นแหละ! เป็นแก่นหัวใจหลักเลย เมื่อฝึกฝนไปเราจะเชี่ยวชาญไปเรื่อยไป ประโยชน์ที่ได้รับ ได้น้อมนำคำสอนไปปฏิบัติก็ได้ความจริง คือตนเองมีความพ้นทุกข์จากปัญหาชีวิตในครอบครัว มีความผาสุกไปตามลำดับ |
นาง | จิตรา พรหมโคตร | |
นาง | ธมกร พลสุวรรณ | จากการฟังธรรม ทำให้เราคิดได้ว่าทุกอย่างที่เกิดขึ้นในชีวิตมันไม่ใช่เรื่องบังเอิญแต่เกิดจากการกระทำของเราเองทั้งสิ้นโรคภัยไข้เจ็บที่เกิดแก่เราก็เช่นกัน เราต้องยอมรับให้ได้ว่าเป็นผลจากการกระทำของเราเช่นกัน ถ้าเรามัวแต่ทุกข์ว่า ทำไม ทำไม ต้องมาเกิดกับฉันก็เปล่าประโยชน์เพราะเกิดขึ้นแล้ว แต่ถ้าเราตั้งสติยินดีในสิ่งที่เกิดขึ้น จะเกิดอะไร จะเป็นอะไร จะหายไม่หายก็ช่างมัน จะหายเร็วหายช้าก็ช่างเขา เราพร้อมที่จะยอมรับ จะหายเมื่อไหร่ก็เมื่อนั้น ปรากฎว่าเหมือนเรายกกองทุกข์ออกจากอก |
นางสาว | ผาสุข ตันชวลิต | บรรเทาทุกข์จากการหาอยู่หากิน ทำให้ชีวิตมั่นคงและ มีคุณค่าทั้งทางร่างกายและจิตวิญญานสูงสุด |
นางสาว | ทรงรัตน์ พรหมช่วย | จิตใจเบิกบาน และสงบ และสามารถใช้าชีวิตได้เรียบง่ายขึ้น |
นางสาว | ปาวิดา ทองธวัฒน์ | เข้าใจชัดขึ้นว่าพลังเหนี่ยวนำมีจริง และแรงมาก เมื่อเราเสพกิเลสหนึ่งอย่างก็จะเหนี่ยวนำให้อยากเสพกิเลสตัวอื่นๆ อีก และ จะเป็นแรงเหนี่ยวนำให้คนอื่นอยากเสพตามด้วย |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | การอ่อนน้อมถ่อมตนอย่างมีปัญญาอันดับแรกค้นหาสัตรบุรุษ |
นางสาว | วิมลวรรณ สินธุจริวัตร | |
นางสาว | สุภารัตน์ จันโดน | ตรวจดูว่าตนเองทำข้อไหนได้บ้างแล้วใน๙ข้อของวรรณะ๙ ฟังธรรมะจากอาจารย์ทุกวันถ้าวันไหนติดธุระะก็สามารถดูหรือฟังในยูทูปได้ค่ะหรือบางวันก็ฟังธรรมจากบุญนิยมทีวี ประโยชน์ที่ได้รับคือเกิดปัญญาแก้ปัญหาให้ตนเองและแนะนำผู้อื่นได้โดยได้นำเรื่องที่อาจารย์สอนไปบอกต่อค่ะ |
นาง | ณัชวรรณ ศรีเพชรส่องแสง | ตราบใดที่ยังไม่ปรินิพพานจะเดี๋ยวดีเดี๋ยวร้ายตลอดเวลาเพราะแต่ละชีวิตทำดีทำชั่วมาหาที่สุดมิได้ |
นางสาว | ชุติวรรณ แสงสำลี | ในโลกนี้ไม่มีอะไรมาก มีแต่เอาเข้าและเอาออก ทั้งรูปและนาม ที่เราเลือกจะใช้อะไรอาศัยและไม่ใช้อะไรอาศัย เท่านั้นเอง จิตวิญญาณที่สะอาดผ่องใสบริสุทธิ์ที่ต้องพากเพียรทำให้มากขึ้นๆๆต่อเนื่องไปไม่มีที่สิ้นสุด. |
นาง | พิกุล วันจันทร์ | |
นาง | ภัคภร จันทราสกุล | |
นางสาว | พุธพรรณ ศรีธรรมูปถัมภ์ | ประโยชน์ที่ได้รับ มองกิเลสในแต่ละวันมากขึ้น ชำระกิเลสได้ฉับพลัน ลดความอยากลงได้อย่างชัดเจน เมื่อฟังธรรมะจากอาจารย์หมอค่ะ ขอบพระคุณมากค่ะ สาธุ |
นางสาว | วิภา ถิ่นถาน | เมื่อรู้ตัวว่าเป็นโรคร้าย จงสลายโรคนั้นโดยเร็ว |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | แต่ละชีวิตแสดงสักยภาพร่วมกันเป็นการแบ่งความรู้ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | มากเพราะมันโง่ มากเท่าไรโง่เท่านั้น |
นางสาว | ประทุมทิพย์ ไชยขิตร | กล้าที่จะไม่กลัว 8 ประการ กล้าที่จะรักษาตามแผนปัจจุบันหลังจากโดนมีดพร้าที่หน้าแข้ง คือไม่เคยเย็บแผลใดๆเลยตั้งแต่เกิดมา เกิดมีความกลัวไม่อยากไปหาหมอ แต่ด้วยความที่เราศึกษายา 9 เม็ด มาเราเลยคิดว่าไม่ต้องเย็บก็ได้ แต่ญาติและเพื่อนๆ บอกต้องไปหาหมอให้หมอเย็บแผลนะมันจะหายเร็ว ขึ้นแต่ด้วยความกลัว กลัวเจ็บ ไม่รู้ขั้นตอนในการเย็บของหมอว่าเค้าต้องทำอย่างไง เค้าเย็บสดๆเลย หรือเปล่า จนหลานบอกเค้าฉีดยาให้ก่อนเย็บ แต่ก็ยังกลัวอีก กลัวตอนเค้าฉีดยาอีก แต่หลังจากคิดถึงความกล้า 8 ประการ กล้าที่จะไม่กลัว กล้าฉีดยา กล้าเย็บ เมื่อคิดแบบนั้นก็ขับรถไปอนามัยเพื่อเย็บแผล หมอก็เย็บแผลให้เรียบร้อย มันก็ไม่เจ็บอย่างที่เราคิด เรากลัวไปเอง |
นาย | ทรงยุทธ อัคโกศล | เข้าใจคำสอนของอาจารย์แต่เมื่อกระทบผัสสะ (เวทนาตัวใหญ่ของผมคือเรื่องความชังเสียงดังจากภายนอกที่มากระทบ) แต่ตนเองยังไม่สามารถล้างได้หมดยังมีความกลัวกังวลระแวงหนั่นไหวอยู่ ยังไม่สามารถล้างใจได้หมด ยังล้างไม่สำเร็จ |
นางสาว | เอ็นดู พูลสวัสดิ์ | การอ่อนน้อมถ่อมตนอย่างมีปัญญาอันดับแรกค้นหาสัตรบุรุษ |
นางสาว | เอ็นดู พูลสวัสดิ์ | มั่นใจว่ากิเลสนี่เป็นทุกข์นะจะไปเสพทำไม |
นาย | มงคลชัย วิชาธรรม | การตั้งศีลในแต่ละคนในการรับประทานอาหารมื้อเดียวนั้นจะแตกต่างกัน แล้วแต่เหตุปัจจัยและบุญกุศลของแต่ละคน แต่การตั้งศีล ควรลดจำนวนมื้อลงก่อน และการลด ละเลิก การรับประทานเนื้อสัตว์ และผลิตภัณฑ์จากสัตว์นั้นสิ่งใดไม่ชอบนั้นให้เลิกก่อนเพราะจะเลิกได้ง่าย แต่ถ้าสิ่งใดชอบให้ตั้งศีลทีหลังเพราะเลิกอยากและต้องใช้เวลามาก |
นางสาว | รุ่งนภา เพ่งรุ่งเรืองวงษ์ | ฟังธรรมะพาพ้นทุกข์ ทำให้จิตสงบใจนิ่งกายเบา |
นางสาว | ส้สยา วาทยานนท์ | เน้นการทำกสิกรรมไร้สารพิษ |
นางสาว | ชุติวรรณ แสงสำลี | |
นาย | วิชิต กองคำ | ราคะ คือสุขสมใจอยาก แล้วมันก็เป็นสุขที่ไม่มี ได้สมใจอยากแป๊บเดียวหมดไป ไม่มีจริง อยากก็เป็นทุกข์ใจ ทุกข์กาย ได้สมใจอยาก ลดทุกข์ใจ ทุกข์กายชั่วคราว ตอนอยากก็กลัวว่าจะไม่ได้ตามที่อยาก ก็เป็นทุกข์ใจ กล้ามเนื้อเกร็งตัวบีบความกลัวออก ก็เป็นทุกข์กาย เกิดทุกข์ใจ ทุกข์กายทันที ได้สมใจอยาก ก็ทุกข์ใจก็ลดลงชั่วคราว ดีใจแว๊บนึง เพราะฉะนั้นทุกข์กายก็ลดลงชั่วคราว ดีใจแว๊บหนึ่งเหมือนกัน พอกล้ามเนื้อคลายตัว ไม่ต้องบีบทุกข์ใจออก เลือดลมไหลเวียนสะดวกก็สบายขึ้นชั่วคราว ทุกข์ลดลงชั่วคราว แล้วก็สบายชั่วคราว พลังกลับมาเป็นของเราชั่วคราว เพราะไม่ต้องเสียพลังไปสร้างทุกข์ ไม่ต้องเสียพลังไปดันทุกข์ออก พลังกลับมาเป็นของเราชั่วคราว ก็ดีใจแว๊บนึง แล้วก็ละลายไปหมดเลย มันมีฤทธิ์อยู่แค่นั้น ม |
นาง | สายพิมพ์ ลิ้มไพบูลย์ | เศรษฐกิจที่แท้จริง ต้องปลูกพืชได้เพื่ออยู่ เพื่อปลูกกิน ไม่ใช่ซื้ออยู่หรือซื้อกิน ต้องขยันให้มากมีมานะให้มากใช้จ่ายอย่างพอเพียงเท่าที่จำเป็น เหลือก็แบ่งปันด้วยใจที่บริสุทธิ์ |
นางสาว | ว่าที่ร.ต.หญิงอำนวยพร ดวงโสภา | ที่ประทับใจตลอดที่เข้าอบรมมาทุกหลักสูตรคือการที่ไม่ได้ดั่งใจเวลาไม่ได้ดั่งใจไม่ยึดมั่นถือมั่นแล้วจะลดอาการโกรธโมโหเพราะกิเลสต้องการทันทีเดียวนี้กิเลสมันเรียกร้องต้องตอนนี้ทันทีถ้าเรารู้ทันมันอดทนพิจารณาเราจะไม่ทุกข์จะไม่โมโหไม่โกรธไม่พอใจที่เราไม่ได้ดั่งใจกล้ารับกล้าให้เกิดกับสิ่งที่เกิดขึ้นคือมีสติรู้ตัวค่ะอดทนเราทำมาค่ะทำให้ใจเราสงบรับได้ไม่โกรธไม่โมโหค่ะ |
นางสาว | รสริน สังข์เกื้อ | ได้รับประโยชน์มาก ทำให้สิ่งที่ไม่ชอบชัง ก็กลายมาเป็นพุทธะ มีการปล่อยวางมากขึ้น ไม่ยึดถือมั่น รับแล้วก็หมดไปจะโชคดีขี้น เราไม่สร้างชั่วแล้ว สร้างแต่กรรมดี ดีก็จะเกิด มีวิบากมาแทรกเล็กน้อย ก็รับแล้วก็หมดไป เหมือนอาจารย์พูด ก็ได้นำมาปฏิบัติค่ะ |
นางสาว | ภนิดา ปิ่นมณี | ชีวิตดีขึ้น |
นางสาว | ลำพึง ก๋งจิ๋ว | ก็ได้ความรู้เพิ่มเติมการดูแลสุขภาพ สมดุลร้อนเย็น ล้างทุกข์ใจได้เร็วขึ้น จับกิเลสได้ทัน ทำใจไร้กังวลได้เร็วขึ้น |
นาง | ศิริพร ขาวไชยมหา | |
นางสาว | ประภาพรรณ โอษฐ์ยิ้มพราย | สภาวะธรรมที่ได้รับ ทุกวันนี้ได้ปฏิบัติตามคุณสมบัติของพระโสดาบัน เพื่อมีความมั่นคงในการดำรงชีวิต ประโยชน์ที่ได้รับ ได้พากเพียรเรียนรู้และปฏิบัติ ตามหลักการที่ได้รับฟัง ทุกประการ เป็นประจำในชีวิต เพื่อความผาสุกและพ้นทุกข์ในชีวิต |
นางสาว | วิภาวัลย์ ถนัดธรรมกุล | ได้ล่างใจจากการยึดมั่นถือมั่นและป่อยว่างการยึดมั่นลง |
นาง | สุภัค กิมใช่ย้ง | อาจารย์หมอเขียวสอนการอยู่อย่างไม่เป็นทาส กิเลส กินน้อยใช้น้อยทำกสิกรรมไร้สารพิษพึ่งตน จะอยู่รอด และ ทำจิตทำใจให้หลุดพ้นจากอบายมุขจะพ้นอบายภูมิและหัดใช้ชีวิตให้อยู่เหนือโลกธรรมแปด |
นาย | คมเวช หงส์เชิดชัย | การที่โควิคระบาดทำให้เห็นความทุกข์ลำบากของคนทั่วโลก คนที่ไม่ทำกสิกรรมปลูกอยู่ปลูกกินแบบไร้สารพิษใช้ชีวิตพิเพียงเอาตัวรอดได้ |
นาง | วิภาวี วงค์ศรีทา | ลดความยาก ตั้งใจทำความดี มีปัญญา และพยายามลด ละ เลิกเรื่องไม่มี |
นางสาว | ตรีทิพย์นิภา ไทยรักษา | สิ่งที่เราได้รับคือสิ่งที่เราทำมา |
นางสาว | ผาสุข ตันชวลิต | ได้รับความรู้ในการทำกสิกรรมไร้สารพิษ แบบเรียบง่าย และประหยัด |
นาย | อุดมศักดิ์ จันทร์จำปา | มีฉันทะที่ไม่ทำให้ทุกข์ |
นาง | เพ็ญศรี มงคลชาติไทย | ฟังธรรมแล้วเมื่อนำไปใช้แล้วเห็นผลได้จริง ประโยชน์ที่ได้รับมีแต่ความเบาสบายค่ะ |
นาง | ณัชวรรณ ศรีเพชรส่องแสง | คนมีปัญญาใช้ชีวิตเรียบง่ายประหยัดไม่เบียดเบียนตนเองทำอะไรให้เป็นประโยชน์ทำสิ่งง่ายให้ง่ายทำสิ่งยากให้ง่าย |
นาย | สุนทร คำเหลือง | คิดจะปลูก พืช พัก ไว้กินอีก ไม่ต้องไปเงินเป็นลูกน้องเขาอีก ไม่ยากเข้าโรงงานทำงานกับโรงงานอีก |
นางสาว | กมลชนก ทุมวงษ์ | ตามที่ท่านอาจารย์หมอเขียวดร.ใจเพชร กล้าจนได้บรรยายและสั่งสอนมา ก็ได้น้อมนำมาปฏิบัติตั้งแต่การทำกสิกรรมไร้สารพิษ ทำปุ๋ยปลูกอยู่ปลูกกินตามที่มีพื้นที่น้อยใส่กระถางก็เพียงพอที่จะนำมาใช้เป็นอาหารและยังสามารถนำมาเป็นการส้มมาอาชีพได้ด้วย แม้จะเล็กน้อยก็ยังเลี้ยงชีพได้ จากเมื่อก่อนที่ใช้ชีวิตแบบฟุ่มเฟือยสุรุ่ยสุร่ายแม้จะมีเงินเดือนเยอะก็ไม่เหลือเก็บ ฉะนั้นวิธีที่จะรอดได้ก็คือการใช้ชีวิตแบบคนจนตรอกแบบพุทธะวิธีการแก้ปัญหาเศรษฐกิจของโลกและตัวเราเอง ประโยชน์ที่ได้รับ เมื่อได้ปฏิบัติตามที่ท่านอาจารย์หมอเขียวดร.ใจเพชร กล้าจน ได้สั่งสอนแล้วก็มีความมีความสุข เบิกบาน |
นางสาว | อัญชลี พุ่มแย้ม | สิ่งที่เราได้รับคือสิ่งที่เราทำมา |
นาย | สุมิตชัย ศรีจันดี | สภาวะการวิราคะและจุลศีลย์13 ข้อมีความเข้าใจภาษาคำว่า วิราคะและสภาวะจริงที่ท่านอาจารย์ได้นำมาอธิบายเทียบเคียงได้เข้าใจละเอียดยิ่งขึ้นและได้เรียนอานิสงค์ของศีลจุลศีลแต่ละข้อแนวทางการปฏิบัติในขั้นหยาบกลาง ละเอียด และนำความรู้จากการได้ฟังมาวิเคราะห์และนำมาปฏิบัติเพิ่มอธิศีลให้กับตัวเองในแต่ละเรื่องๆเพื่อให้เกิดความก้าวหน้าได้ครับ |
นาง | ชวนพิศ แก้วประดิษฐ | |
นางสาว | ผาสุข ตันชวลิต | ประโยชน์ของการเป็นคนวรรณะ ๙ นั้นจะมีอิสระทางด้านจิตวิญญานและ ความมั่นคงในชีวิต |
นางสาว | อุรา สังข์ชม | |
นาง | ธมกร พลสุวรรณ | ทำให้เห็นความแตกต่างอย่างชัดเจนระหว่างคนที่มี และ ไม่มี วรรณะ 9 ประโยชน์ที่ได้รับ นำความรู้จากการฟังมาปรับใช้กับตัวเองให้มากที่สุดค่ะ |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | ทุกชีวิตควรคิดพูดทำให้ถูกศีล ประโยชน์ที่ได้รับ คือความพ้นทุกข์ |
นาง | รมิตา ซีบังเกิด | กิจกรรมทีสัมพันธ์กับอปริหานิยธรรมในข้อ2คือการพร้อมเพรียงช่วยกันทำกิจ ตามดำริของพ่อท่านสมณโพธิรักษ์และท่านอาจารย์หมอเขียว คือการแบ่งปันเมล็ดพีนธุ์ผักแก่ผู้มีศีล เป็นกิจกรรมที่ฝึกให้เราได้เป็นผู้รู้จักการเสียสละสิ่งของให่แก่ผู้อื่นด้วยใจที่บริสุทธิ์ เมื่อทำแล้วจะมีความสุข กิจกรรมนี้ดีมากๆ |
นางสาว | ว่าที่ร.ต.หญิงอำนวยพร ดวงโสภา | เรื่องกล้าในการทำสิ่งดีละอายและเกรงกลัวในการทำสิ่งชั่วชีวิตจึงจะพ้นทุกข์ได้สิ่งที่เราได้รับคือสิ่งที่เราทำมาประโยชน์ได้เข้าใจและยอมรับวิบากร้ายที่เราทำมายินดีรับให้หมดไป |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | การตามใจให้ได้สมใจอยากจะทำให้กิเลสโตขึ้นเรื่อยๆ ไม่ใช่การดับทุกข์ที่แท้ |
นางสาว | ศิริพร คำวงษ์ศรี | รู้สึกได้คำคม และปัญญาที่คอยขัดเกลากิเลสที่ยังหนามาก ต้องคอยตรวจอ่านใจที่โง่เรื่อย ๆ ว่าไปยึดทุกข์ในเรื่องอะไร ตายไม่เอาอะไรไม่ได้อยู่ จะยึดไปทำไมกัน? |
นางสาว | ปัทมา ลีฬหาวงศ์ | |
นาง | ภัคเปมิกา อินหว่าง | |
นางสาว | ประภัสสร ชาญชัยชูจิต | การฟังธรรมบ่อย ๆ ทำให้เกิดความเจริญ ในด้านต่าง ๆ เป็นการลดกาม ลดอัตตา ลดความยึดมั่นถือมั่น |
นาง | นฤมล แป้นคุ้มญาติ | ใช้ยาเก้าเม็ดดีทุกเม็ดได้ผลเกินร้อย |
นาง | สำรวม แก้วแกมจันทร์ | ความหวั่นไหวเป็นโรค เป็นผี เป็นลูกศร เมื่อมีคำพูดผัสสะมากระทบ หู ได้ยิน สิ่งที่ไม่อยากได้ยิน เกิดกิเลส ความไม่พอใจ หวั่นไหวไปกับคำพูดนั้นๆ จนเกิดทุกข์ ได้นำคำสอนของอาจารย์ มาพิจารณา ทำใจในใจ เพิ่งเผากิเลสให้ค่อยๆ เบาบาง และหายไปใน 1-3 วัน ด้วยการใช้ความกล้าที่จะไม่กลัว ไม่ว่าอะไรจะเกิดขึ้น กล้าที่จะให้เกิดร้ายก็ได้ เกิดดีก็ได ความหวั่นไหว หายไปได้ ในที่สุด เกิดความผาสุก เบิกบานได้ เกิดเป็นความรู้ตื่น รู้เบิกบาน กายและใจสมดุล ประโยชน์ คือ มีร่างกายแข็งแรง จิตใจเบาโล่ง เพราะความหวั่นไหวสลายไปแล้ว ดล่ง ลงได้เผา |
นางสาว | สุภัคษา เต่าถมตา | ได้ความรู้เพิ่ม |
นางสาว | ปาวิดา ทองธวัฒน์ | วันนี้พบกับเหตุการณ์ที่ทำให้ยิ่งเข้าใจสิ่งที่อาจารย์สอน เพราะมีเพื่อนรุ่นพี่โทรมาชวนให้เรียนคอร์สที่จะสามารถขายของได้ดี สามารถล่อลวงให้คนซื้อของได้มากที่สุด แต่เห็นสภาพชีวิตเขาแล้ว ผลลัพธ์ไม่ได้เป็นอย่างที่คิด แถมยังมีทุกข์ ความเครียด และเกิดปัญหาขึ้นทุกด้านในชีวิต ซึ่งเขาเองก็ไม่รู้และดูไม่ออก ที่ร้ายยิ่งกว่านั้นคือ เขาไม่รับฟังความคิดเห็นที่แตกต่างด้วย |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | มีอีกหลายๆคนที่ยังคิดว่าเงินเป็นพระเจ้า เพราะเขาไม่มีศีล เขาถึงเดือดร้อนเรื่องเงิน แถมยังมายืมเราอยู่บ่อยๆ ช่วงหลังจึงหลบโดยไม่รับโทรศัพท์ ไม่สนใจเพราะสอนสิ่งดีดี แล้วเขาก็รับไม่ได้ |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | เป็นแรงเหนี่ยวนำดีๆ จะตั้งใจฝึกทำกสิกรรมไร้สารพิษต่อไป |
นาง | จิตรา พรหมโคตร | อาจารย์ให้ธรรมะใน เรื่อง ให้ความสำคัญจุดกระแสของการทำกสิกรรมไร้สารพิษ ต้องช่วยกันแต่ละจุด ทำเต็มที่ พอใจ สุขใจเท่าที่เป็นไปได้ ทำวันนี้สุขใจที่เราได้ทำ คิดลงมือทำเรียกว่าปฏิบัติธรรม ได้ผลผลิตเท่าใดก็พอใจ"คนมีปัญญาจะมีความสุขทุกปัจจุบัน เมื่อทำดีเต็มที่แล้ว ก็สุขเต็มที่ ทำดีเมื่อไหร่ก็สุขเมื่อนั้น อย่าไปรอความสุขในอดีต ในอนาคต อดีตก็หมดไปแล้ว อนาคตยังมาไม่ถึง ประโยชน์ที่ได้รับ ทำให้ได้มาตรวจสอบตนเองว่าทำไมเราไม่มีความสุขกับการปลูกผักไร้สารพิษ |
นาง | จิตรา พรหมโคตร | |
นาง | วันเพ็ญ ตั้งสกุลวงศ์ | ธรรมะที่ชำระกิเลสได้เป็นธรรมะที่สูงสุด และ ทำอะไรไม่ได้ให้ชำระกิเลสให้ได้ ประโยชน์ที่ได้รับคือ ตัวเองเวลาทำงานจะใจร้อนและยึดที่จะ ทำงานให้สำเร็จลุล่วงให้เร็ว แต่ตอนนี้รู้แล้วว่า สิ่งที่สำคัญที่สุดคือ งานอันดับแ |
นาง | ณัชญ์ชาพัฒ วงศ์วิวิทย์ | เข้าใจว่าเรามีความยึดมั่น ถือมั่น ในเรื่องของลูกมากเกินไป เมื่อเข้าใจบทเรียนวันนี้ ใจก็คลายความยึดมั่น พร้อมปรับพร้อมเปลี่ยน ส่วนไหนที่ยังทำไม่ได้ในขณะนี้ ให้วางใจ แล้วค่อยหาโอกาสทำใหม่ เมื่อยังมีความจำเป็นต้องทำอยู่ ก็ทำได้ |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | ทุกที่เลี่ยงได้ กำลังพยายามฝึกฝนลดล้างไปทีละข้อละข้อ ส่วนทุกที่เลี่ยงไม่ได้ก็ต้องยินดีรับและชดใช้ให้หมดไป |
นางสาว | วิญญา จันทะพล | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | สนุกและได้สาระ |
นางสาว | สำรวย รัตตนะ | ต้องขยันตั้งศีล กิเลสเล็กน้อย เราจะมองไม่เห็นต้องอาศัยการเพิ่มศีล ปฏิบัติด้วยปัญญา อ่านกิเลสให้ออกแล้วรีบกำจัดทันที |
นาง | ณัชวรรณ ศรีเพชรส่องแสง | การปฎิบัติธรรมต้องทีผัสสะมีเหตุการณ์มากระทบให้อ่านอาการกิเลส |
นางสาว | สำรวย รัตตนะ | ตรวจสอบจิตเราให้แม่นว่าเป็นพุทธะหรือกิเลส คิดแบบกิเลสทุกข์ คิดแบบพุทธะเป็นสุขจะมีพลังขึ้นมาทีนที |
นาง | นบชุลี เสาวนา | ประโยชน์จากการฟังธรรม เมื่อเกิดสิ่งเลวร้ายกับตัวเอง ทำให้กล้าที่จะยอมรับในทุกเรื่องที่เกิดขึ้น ไม่กลัว ไม่กังวล ไม่หวั่นไหว |
นางสาว | พริมรัศมิ์ จิวเลิศเลขา | ได้เรียนรู้ศัพท์ธรรมะเพิ่มเติมและเข้าใจว่าโรคสันนิวาสหมายถึงอะไร มนุษย์เรานั้นล้วนเต็มไปด้วยโรคสันนิวาส ที่ยากจะหลุดพ้น วนเวียนเพราะถูกกระแสตัณหาต่างๆ เข้าครอบงำ มีแต่พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงธรรมเป็นแสงสว่างให้แก่พวกเราชาวโลก ช่วยสางรกชัฎให้แก่โลกสันนิวาสทำให้เราหลุดพ้นจากโรคสันนิวาสได้นั่นเอง |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | แม้คำพูดแค่ประโยค สองประโยคที่ท่านอาจารย์พูด ถ้าฟังแล้วเข้าใจ นำไปใช้ประโยชน์ได้เสมอ |
นางสาว | นฤมล วงศา | การกำจัดความกลัวด้วยความกล้า กล้าที่จะพบปัญหา พบความผิดหวัง สืบเนื่องจากหน้าที่การงานที่ต้องรับผิดชอบ ที่ต้องมาทำงานทุกวัน ในขณะที่หน่วยงานอื่น มีโอกาส WFH (work from home) ความขี้เกียจ ความอยากที่จะทำตามบ้างก็เกิดขึ้นในใจ ทั้งๆมันก็ไม่ใช่สิ่งที่ถูกต้อง กิเลสมันพอให้ขุ่นหมองใจ แต่เมื่อฟังธรรมอาจารย์ ใจเริ้่มมีกำลัง ไม่สับสน และมีพลังที่จะสู้กับกิเลสความขี้เกียจ ความอิจฉาเพื่อนๆบางหน่วยงานได้ และตอนนี้่ ตนก็เริ่มคลายทุกข์ใจ และทำงานได้อย่างเบิกบานขึ้น แต่กระน้้น ก็ต้องคอยต่อรอง ต่อสู้กับกิเลสตัวเองเป็นระยะๆ |
นาง | จิตรา พรหมโคตร | อาจารย์ได้ให้ธรรมะเกี่ยวกับการปฏิบัติศีล 5 อย่างละเอียดด้วยการประพฤติพรหมจรรย์ คือ การกำจัดกิเลส คิดให้ถูกศีล ใช้ปัญญา ละความอยากได้ ชีวิตจะไม่ทุกข์ถ้ายอมเสียหายให้ได้ทุกเรื่อง การที่เรากล้าเรายอมมยินดีเสียหาย คนเก่งศีลเท่านั้นที่จะทำได้ เก่งโลกิยะทำไม่ได้ คนเก่งพุทธะเก่งพ้นทุกข์ จึงจะทำสิ่งนี้ได้เป็นสุดยอดของคนเก่ง ประโยชน์ที่ได้รับ ได้ปัญญาที่จะนำไปฝึกฝนพากเพียรปฏิบัติกำจัดกิเลสที่เป็นเหตุแห่งทุกข์ |
นาง | จิตรา พรหมโคตร | ได้ฟังธรรมะของอาจารย์ในเรื่อง"ความเยาะแยะต้องเอาจริงเอาจัง" ชีวิตไม่พ้นทุกข์ถ้าเยาะแยะกับกิเลสก็แพ้กิเลสราบคาบ เราต้องเอาจริงเอาจังเด็ดขาดเป็นเรื่องๆ ไม่เช่นนั้นก็แพ้กิเลส ทำด้วยปัญญา ประโยชน์ที่ได้รับ ได้ปัญญาที่จะนำไปปฏิบัติต่อสู้กับกิเลส |
นาง | หนูจันทร์ จอกทอง | ทำให้จิตใจสงบ |
นาง | เวียงทอง นุ่นภักดี | ทุกข์อริยสัจคือทุกข์ทางใจ เมื่อเกิดเรื่องร้ายขึ้นสิ่งที่ต้องทำอันดับแรกคือดับทุกข์ใจให้ได้ก่อนเพราะใจเราเป็นใหญ่ใจเป็นประธาน ทุกอย่างสำเร็จได้ด้วยใจธาน ทุกอย่างขึ้นอยู่กับใจถ้าใจสบายดี ร่างกายก็สบายดี |
นางสาว | สำรวย รัตตนะ | การปฏิบัติธรรมให้ชนะกิเลสได้ต้องเอาใจใส่ทุ่มโถมเอาจริงเอาจังอย่างแรงกล้า เหตุใดจึงแพ้ อะไรพร่องก็นำไปปรับปรุงแก้ไข ตั้งศีลมาสู้กิเลส จึงจะพ้นทุกข์ได้ |
นางสาว | ทรงรัตน์ พรหมช่วย | คบหมูมิตรดี |
นางสาว | ปาวิดา ทองธวัฒน์ | ได้อ่านอาการกิเลสแล้วสามารถควบคุมและลดการเสพกิเลสได้ คือ อาการที่กินมากจนควบคุมไม่ได้ มาจากกิเลสที่อยากได้มากแต่อยากลงทุนน้อยๆ เริ่มจากเรื่องธุรกิจ กิเลสที่เคยมีคืออยากได้ทุกอย่างแม้สิ่งนั้นจะไม่จำเป็น ความทรมานที่เกิดขึ้นคือกินมากไม่รู้จักอิ่ม และคิดตลอดเวลาว่าจะกินอะไรอีก มีอะไรที่กินได้อีก โดยเข้าใจว่าจะได้กำไร ที่แท้ขาดทุน ตอนนี้รู้แล้วว่า กำไรคือ "ความพอดี" |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | หัดคุยกับกิเลส คราวนี้ขอชนะก่อน ถ้าไม่ดีค่อยว่ากันคราวหน้า |
นาง | เวียงทอง นุ่นภักดี | คนที่ไม่มีศีล จะพยายามหาทางให้ได้ดั่งใจหมายโดยที่ไม่รู้ว่าสิ่งนั้นคือสุขลวงทุกข์จริง สุขไม่จริง อยากพ้นทุกข์ต้องปฏิบัติศีล ล้างกิเลส สลายกิเลส |
นาง | เกษร อินต๊ะปัญญา | ปฎิบัติศีล ต้องปฎิบัติ ให้ถึง กาย วาจา ใจ ชำระกิเลสให้ละเอียดให้ได้ตามลำดับ ต้องเด็ดขาด เอาจริง เสียบกิเลสทุกวัน เสียบเข้าไป เสียบเข้าไป เด็ดขาด เอาจริง เห็นผลต่างกิเลสมันมีแต่ทุกข์ โง่ ชั่ว พิจารณาให้เห็นชัด ว่ากิเลสมันเป็นทุกข์ ถึงชนะมันได้ จะพากเพียรขุดกิเลสให้ถึงศีล แล้วศีลจะนำพาความผาสุก สิ่งดีงามทุกมิติ นำนิพพานมาให้ สาธุค่ะ |
นางสาว | ชัญญา ศรีโยธิน | |
นางสาว | อุษา บุตรพรม | |
นางสาว | กมลชนก. เช้าเที่ยง | |
นางสาว | พุธพรรณ ศรีธรรมูปถัมภ์ | |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | ชีวิตไม่พ้นทุกข์เพราะความเหยาะแหยะ |
นางสาว | ประทุมทิพย์ ไชยชิตร | |
นาง | ประไพพรรณ ศรีเปารยะ | ชีวิตคนเรามีทั้งวิบากดีและร้ายเ มื่อวิบากร้ายให้ผล เราก็จะได้รับแต่เรื่องร้ายๆ ไม่ว่าสิ่งใดเกิดขึ้น ดีก็ตามชั่ว ก๊ตามเป็นเพราะ เราทำมาทั้งน้น ไม่ว่าอะไรจะเกิดเขึ้นเราต้องยอมรับและอยู่กับมันให้ได้ |
นางสาว | วิภา ถิ่นถาน | ทำไม่ให้คิดมาก ไม่กังวนใจ |
นางสาว | ผาสุข ตันชวลิต | ต้องเด็ดขาดในการกำจัดกิเลส และ รู้ชัดถึงความแตกต่าง ระหว่าง การมีและไม่มีกิเลส |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | อยู่เหนือเงินไม่ให้เงินใช้เรา เราเป็นคนใช้เงินไม่ใช่ให้เงินใช้เรา |
นาย | สุมิตชัย ศรีจันดี | ชีวิตอย่าไปสร้างทุกข์ให้ตัวเองใครมีพฤติกรรมอะไรก็ช่าง เหตุการอะไรก็ช่างให้ทำใจอย่าไปชอบชังในสิ่งต่างไป กิเลสจะหาเรื่องทุกข์ใส่ตัวเอง ทุกอย่างเกิดจากความอยากเลิกอยากก็หายทุกข์แล้ว ประโยชน์ที่ได้รับนำมาใคร่ครวญดีๆแล้วปฏิบัติตามนำมาล้างทุกข์ในชีวิตประจำวันได้ |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นาง | เพ็ญศรี มงคลชาติไทย | สภาวะที่ได้ฟังมีความเห็นว่าที่ท่านได้พูดได้สอนนั้นทำแล้วเห็นผลจริงและช่วยลดค่าใช้จ่ายได้จริงและลดทุกข์ได้จริง |
นาง | จิตรา พรหมโคตร | ธรรมะของอาจารย์ "ยอมรับทุกข์ที่ได้รับให้ได้ เราจะชนะทุกข์ ชนะได้ตลอดคือ ใจที่กล้าแพ้ กล้าชนะ ยอมรับกับสิ่งที่แก้ไขไม่ได้ คนมีปัญญาจะไม่กลัวแพ้ จะเห็นทุกข์ชัดที่ไม่ได้ตามที่อยาก ทำอะไรไม่ได้ ตามที่อยาก มีค่ามากกว่าทำอะไรได้ตามที่อยาก ถ้าเรากล้าที่จะไม่ได้ตามที่อยากจะได้ 2 อย่างคือ 1.ได้พ้นทุกข์ 2.จะได้ตามที่อยาก ประโยชน์ที่ได้รับ ได้ปัญญาเพิ่มมากขึ้นเพื่อฝึกฝนความกล้า |
นางสาว | สุภารัตน์ จันโดน | เราชอบเถียงแม่เพราะไม่ชอบที่แม่ไม่มีเหตุผล ตั้งศีลไม่เถียงแม่เปลี่ยนมาเถียงกิเลสแทนค่ะเพราะกิเลสไม่มีเหตุผลที่ทำให้เราพ้นทุกข์ กำจัดกิเลส เถียงกิเลส ไม่ยอมกินเลส |
นาง | ชวนพิศ แก้วประดิษฐ | |
นาง | วันเพ็ญ ตั้งสกุลวงศ์ | อาจารย์บรรยายว่า อยากได้มา กลัวไม่ได้ ได้มาก็กลัวววจะหมดไป ไม่อยากได้ ได้มาก็กลัวจะไม่หมดไป ทุกข์ ได้เห็นสภาวะนี้ของกิเลสเมื่อนำมา ปฏิบัตในชีวิตจริ |
นางสาว | สำรวย รัตตนะ | - ถ้าไม่กินผักสดจะไม่สดชื่น ไม่มีพลัง - ชำระกิเลสให้สิ้นเกลี้ยงปัญญาจึงจะเกิด |
นางสาว | รุ่งนภา เพ่งรุ่งเรืองวงษ์ | การถือศีล ฟังธรรมจากยูทูป |
นางสาว | ประทุมทิพย์ ไชยชิตร | |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | นิวรณ์ 5 ทำให้ปัญญาดับ มันทำให้ไม่รู้ความจริงตามความเป็นจริง ไม่รู้ว่าอะไรเป็นประโยชน์อะไรเป็นโทษ ประโยชน์ที่ได้รับ เราต้องดับนิวรณ์ 5 เพื่อจะได้ทำให้เราพ้นทุกข์ |
นาย | สุนทร คำเหลือง | กล้าจนให้ได้ ปัจจุบันเป็นคนจนอยุ่แล้ว คิดขึ้นมาได้ว่าเราไม่เกิดมาชาติเดียว ในอดีตเราอาจจะมีทรัพย์มากห็ได้และอนาคต ที้แน่ๆเราเกิดมามีอยตนะครบ12อาการแล้วแต่ปัญญาเรายังมีไม่มากพอที่จะลดกิเลสได้ทุกอย่าง แต่ยังพยายามลดให้มีปัญญาเห็นโทษเห็นภัยในปัจจุบันและอนาคต คิดอย้งนี้แล้วใจคลายทุกข์ที่ยากได้ยากมีลดลงเห็นโทษบ้างแล้ว |
นางสาว | ว่าที่ร.ต.หญิงอำนวยพร ดวงโสภา | จอบขุดกิเลสการกล้าที่จะทำดีละชั่วกล้ารับวิบากร้ายยอมรับให้กล้าที่จะทำดีผลประโยชน์ทำให้กล้าไม่กลัวกล้ารับที่จะไม่ได้ดั่งใจอดทนไม่หวั่นไหวใจเย็นขึ้นมาก |
นางสาว | ว่าที่ร.ต.หญิงอำนวยพร ดวงโสภา | วัคศีลมีปัญญามีสุขภาพดีใช้จอบขุดปัญญาสับกิเลสให้ตายมีปัญญาเจริญขึ้นพึ่งตนช่วยคนให้พ้นทุกข์ได้ตัวเองพยายามพึ่งตนเองเคยจับจอบมาขุดดินปลูกมีความสุขยิ่งเห็นพืชที่ปลูกเติบโตขึ้นแล้วยิ่งมีความสุขในการทำกสิกรรมไร้สารจะทำให้เราใช้ปัญญาความคิดในการเตรียมการในการปลูกจะปลูกอะไรสภาพอย่างไรมีปัญหาอะไรจะแก้ไขอย่างไรใช้ปัญญาใช้กายทำงานบริหารทุกส่วนของร่างกายความคิดจิตใจร่างกายใช้ทุกส่วนาัมพันธ์กันค่ะเป็นการออกกำลังกายไปในตัวมีความสุขใจด้วยค่ะ |
นาง | รมิตา ซับังเกิด | เราจะต้องมีความมุ่งมั่นในการชำรักิเลสในเรื่องต่างๆ มีการดำเนินชีวิตที่ประหยัด เรียบง่าย พึ่งตนเองให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ โดยไม่ฝืดฝืนเกิน ลำบากเกิน มีความพึงพอใจในการดำเนินชีวิต มีความพากเพียรในการทำกิจการงาน หมั่นเข้าหาหมู่กลุ่มดี มิตรสหายดีอยู่เป็นนิจ พยายามตั้งศีลให้สูงๆขึ้นๆ เพื่อให้พ้นจากกิเลสให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ |
นาง | นฤมล แป้นคุ้มญาติ | ก่อนปีใหม่วิบากกรรมเข้ามาเป็นโควิดกันทั้งครอบครัวเลยแต่ก็ไม่ทุกใจยินดีรับๆแล้วก็หมดไปกะปีเก่าใช้ยาเก้าเม็ดดูแลกันเองสมุนไพรในตัวเป็นหลักสมุนไพรหญ้านางใบเตยวอเต่อเคสดื่มกินเช็ดตัวลดไข้หยอดประคบอบอาบสวนล้างลำไส้ใหญ่สามวันหายคุ้มค่ามากที่เรียนออนไลแพทย์พึ่งตนได้พึ่งทั้งครอบครัวค่ะ |
นางสาว | สำรวย รัตตนะ | ใครอยากมีปัญญาต้องปฏิบัติอริยสัจ 4 เท่านั้นถ้าอยากได้ปัญญาที่สมบูรณ์ ต้องชำระดิเลสให้สิ้นเกลี้ยง |
นางสาว | สำรวย รัตตนะ | ทำกสิกรรมต้องทำแบบเล็กๆอย่างมีคุณภาพด้วยการใช้อินทรีย์วัตถุมาก ไม่โลภ อยากได้มากเกินกว่าที่จะเป็นไปได้จริง ทำมากเกินกำลังจะทำให้ไม่มีประสิทธิภาพ ลงทุนสูง ผลผลิตต่ำ เพราะหาอินทรีย์วัตถุได้ยาก ไม่พอใช้ |
นาง | ภัคภร จันทราสกุล | |
นางสาว | สำรวย รัตตนะ | ศรัทธา เคารพครูบาอาจารย์ ติดตามฟังธรรม พูดสภาวะธรรม ที่พาพ้นทุกข์เป็นคราวๆ ตั้งศีลมาชำระกิเลส ละความอยาก ความยึดมั่นถือมั่น |
นาง | สุภัค กิมใช่ย้ง | การ กำจัดทุกข์ในอริยสัจ ต้องทำจริง มีสัจจะ และ ไม่ย่อหย่อนให้กับ กิเลสมารทั้งหลาย จึงจะสำเร็จ มรรคผลนิพาน ไดเร็วหมดทุกข์ได้เร็วพพา |
นางสาว | เอ็นดู พูลสวัสดิ์ | ไม่กินเนื้อสัตว์ทำให้สุขภาพแข็งแรงอายุยืน |
นาง | นปภา รัตนวงศา | ข้าวทำให้ชีวิตอยู่รอด อยู่เป็นสุข ข้าวมีคุณค่าต่อชีวิตมากที่สุด คน ก็ผลิตข้าวได้กุศลมากกว่าสิ่งอื่น คนผลิตข้าวมีค่ามากกว่า คนผลิตของราคาแพง ชาวจีนยอมเอาของแพงแลกข้าวประทังชีวิต หลังล็อคดาวซีอาน โอมิครอนระบาดเร็วมากใน USA คิดเป็น 95% คนผิดศีลจะสูญเสียกองโภคะใหญ่ โลกนี้มีแต่ คนผิดศีล กับคนถูกศีลเท่านั้น พตฏ 9/194 ปัญญาอันศีลชำระให้บริสุทธิ์ ศีลอันปัญญาชำระให้บริสุทธิ์ ศีลมีในบุคคลใด ปัญญามีในบุคคลนั้น ปัญญามีในบุคคลใดศีลก็มีในบุคคลนั้น ปัญญาเป็นของบุคคลผู้มีศีล ศีลเป็นของบุคคลผู้มีปัญญา นักปราชญ์ย่อมกล่าวว่าศีลกับปัญญาว่าเป็นยอดในโลกเหมือนบุคคลล้างมือด้วยมือ หรือล้างเท้าด้วยเท้าฉะนั้น คนเราต้องฝึกไม่อยากได้ดั่งใจหมายให้ได้ การละ ถีนมิทธะ(ความหดหู่ เซื่องซึม) ด้วย อาโลกสัญญา การละ อุทธัจจะ(ฟุ้งซ่าน) ด้วย ความไม่ฟุ้งซ่าน การละ วิจิกิจฉา ด้วย การกำหนดธรรม การละ อวิชชา(ไม่รู้) ด้วย ญาณ การละ อรติ(ไม่ยินดี) ด้วย ปราโมทย์ การละ นิวรณ์ ด้วย ปฐมณาณ(วิตก วิจาร) การละ วิตกวิจารด้วย ทุติยณาณ ให้เอาจริงเอาจัง เอาเป็นเอาตาย หึกเหิม ห้าวหาญ มีชีวิตชีวาในการพิสูจน์ความจริงในการชนะกิเลส ว่าดีอย่างไร เปรียบเทียบกับตอนมีกิเลส เพียรใช้ปัญญาชำแรกกิเลส เพื่อความพ้นทุกข์อย่างถูกต้อง พตฎ 27/2444 คนมีปัญญาแม้ตกทุข์ก็ยังหาสุขพบ |
นางสาว | เอ็นดู พูลสวัสดิ์ | กินผักสดกล้ามเนื้อแข็งแรงมีกำลังสดชื่น |
นางสาว | ผาสุข ตันชวลิต | ต้องเด็ดขาดในการหลุดพ้นจากกิเลส |
นางสาว | ตรีทิพย์นิภา ไทยรักษา | สิ่งที่ได้รับคือสิ่งที่เราทำมา |
นาง | นบชุลี เสาวนา | |
นางสาว | 2รัตนา กิจเกื้อกูล | เกิดปัญญา ได้เรียนรู้วิธีการลดกิเลสทีละขั้นตอน และโทษคนอื่นไม่มีทางบรรลุธรรม# |
นาง | สายพิมพ์ ลิ้มไพบูลย์ | เห็นสภาวะของกิเลส 2 ด้าน คือช่วงที่เจอผัสสะมากระทบกับช่วงที่ไม่มีผัสสะมากระทบความฟูของความอยากมันต่างกันอย่างชัดเจน |
นาง | เครือแก้ว คุณะวัฒนา | อยากพ้นทุกข์แล้วค่ะ หมดทุกข์้ห็นเห็นทุกข์ จึงเข้าใจสัจธรรมนำชีวิตหลุดพ้น |
นาง | สำรวม แก้วแกมจันทร์ | เมื่อได้ฟังธรรมจากอาจารย์ เรื่องที่เกี่ยวกับปัญญาอยู่ในคนมีศีล การที่ได้ตั้งศีลสู้กับการไม่กินขนม ได้ 2 เดือน ทำให้เกิดปัญญาในการจับกิเลสได้เร็วขึ้น อย่างเช่น ตัวอยากกินขนมที่เคยชอย เคยติด เมื่อได้ใช้ปัญญาญาณของพุทธะ สามสารถจับมันได้ แล้วล้างมันได้โดยไม่ยากเหมือนเมื่อก่อนที่ไม่เคยตั้งศีล ด้วยความโง่ ไม่รู้ไม่เข้าใจ ปล่อยไปตามกำลังของกิเลส โง่ ชั่วทุกข์ มามากพอแล้ว จึงพน้นทุกข์จากการกำจัดตัวอยากกินขนมได้ โดยไม่อยากอีกต่อไปแล้ว |
นางสาว | ธัญญภัสร์ ศรีมา | ทำให้ใจไม่ทุกข์ทุกข์น้อยลง |
นาย | คมเวช หงส์เชิดชัย | ปัญญาจะไม่สามารถเกิดด้วยการเลร้ยงกิเลส ปัญญาจะหลุดได้ด้วยการลดละกิเลส |
นางสาว | ปาวิดา ทองธวัฒน์ | เราจะเข้าถึงปัญญาที่แท้จริงต้องเกิดจากการลงมือทำจริงเท่านั้น และต้องทำถึงขั้นเปรียบเทียบความต่างระหว่างการมีกิเลสและการจำจักกิเลสได้อย่างสิ้นเกลี้ยงด้วย |
นางสาว | วิภาวัลย์ ถนัดธรรมกุล | ได้พยายามลดกิเลส ไม่ทำตามกิเลส ได้ประโยชน์จากการได้เชื่อกิเลส ทำให้สบายกายสบายใจจากการไม่ติดยึดไม่หลงเสพ ทำให้จิตใจโปร่งโล่ง สบายกายใจมากขึ้น ปล่องว่างลงได้ |
นาง | ธมกร พลสุวรรณ | ปัญหาทุกปัญหาจะแก้ได้หากเรามีสติ ไม่ยอมให้กิเลสไม่ปล่อยให้กิเลสเลสเลสเอาชนะเราและเราก็ต้อง |
นางสาว | ปัทมา ลีฬหาวงศ์ | พิธีมอบจอบ ใจเพชรเพื่อมวลมนุษยชาติจากสถาณการณ์covidระบาดเป็นเหตุให้อาหารคลาดแคลนกิจกรรมอื่นๆก็ชะงักไปด้วย อาหารเป็นหนึ่งในโลกการพึ่งตนเองเป็นสิ่งสำคัญการปลูกอยู่ปลูกกินจึงสำคัญมากจึงเป็นที่มาในการมอบจอบแก่จิตอาสาเป็นเครื่องหมายของการพึ่งตนเองได้อาหารและยาที่ดีที่สุดในโลกร |
นางสาว | ประภัสสร ชาญชัยชูจิต | สภาวะธรรมที่ได้รับจากการฟังธรรม คือ ได้รู้เรื่องกรรมมากขึ้น ได้รู้ว่าภูมิปัญญาของคนทั้วไป ยากที่จะเข้าใจเรื่องกรรมอย่างแจ่มแจ้ง |
นางสาว | กมลชนก ทุมวงษ์ | ในโลกใบนี้มีคนถูกศีลและผิดศีลเท่านั้น(ศีลเป็นของบุคคลผู้มีปัญญา) ผิดศีลนำทุกข์ทั้งหมดทั้งมวลมาให้ ถูกศีลนำสุขมาทั้งหมดทั้งมวลมาให้ ประโยชน์ที่ได้รับ จากการปฏิบัติศีลทำให้ชีวิตความเป็นอยู่มีความสุขมากขึ้น จากการปฏิบัติที่ถูกต้องถูกตรง |
นางสาว | วิมลวรรณ สินธุจริวัตร | อยากมีสุขต้องลดความชอบชังรังเกียจปฏิบัติศิล |
นางสาว | ประภาพรรณ โอษฐ์ยิ้มพราย | ปัญญาจะไม่เกิดหากเราไม่ชำระกิเลสให้หมดได้ ซึ่งตัวเองก็ได้รับประโยชน์ตรงนี้ด้วยการเพิ่มอริยศีล ลดกิเลสในการกินลง ในบางส่วนที่ต้องการ ในแต่ละวัน ผลที่ได้ จิตใจและร่างกาย แข็งแรงขึ้น รวมถึงผักผลไม้ที่เราปลูก งดงาม สมบูรณ์ลูกใหญ่โต ผลผลิตมากมายได้แบ่งปันผู้อื่นในแต่ละโอกาสที่จะได้แบ่งปัน |
นางสาว | ชุติวรรณ แสงสำลี | |
นางสาว | สุดใจ โสะหาบ | ทำให้เข้าใจได้รู้วิธีลดละเลิกกิเลสได้ละเอียดขึ้น |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | ดีใดเกิดได้ ให้ทำเลย ดีไหมเกิดไม่ได้ ให้หยุดอยาก ไม่ยึดมั่นถือมั่น. สังเกตยิ่งสอนยิ่งมีปฏิภาณ ใครพร้อมจะฟังก็ให้ ใครไม่พร้อมไม่ต้องให้ ต้องเป็นพรหมสี่หน้า อย่าเป็นพรหม 3 หน้า เรารู้ว่าดีแต่ถ้ารู้ว่าไม่พร้อม มันจะทุกข์ |
นาง | พิกุล วันจันทร์ | คิดดี ปฏิบัติดี แบ่งปัน เมตตา |
นาง | ประไพพรรณ ศรีเปารยะ | ได้ความรู้ ทีสามารถที่ทำเองได้สามารถพึ่งตนองได้ เป็นหมอรักษาตนเองได้ |
นางสาว | รสริน สังข์เกื้อ | รู้สึกมีกำลังใจมากในการใช้ชีวิต ได้มาพบอาจารย์ผู้รู้ชี้แนะรู้หนทางพ้นทุกข์ เกิดมาคุ้มแล้วค่ะได้มาเจอหมู่มิตรดี |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | วิธีชำระกิเลส 1.กล้าชำระกิเลส 2. มีปัญญาจึงชำระกิเลสได้ 3. เปรียบเทียบได้ชัดเจนตอนมีกิเลสกับละวินาทีนั้นเลย |
นางสาว | อุษา บุตรพรม | ในโลกนี้ ถ้าเราไม่อยากได้อะไร จะเอาอะไรมาทุก |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | เป็นอีกหนึ่งแรงใจที่ ทำให้ท่านอาจารย์อยากสอนต่อ เพราะนำคำสอนของท่านอาจารย์มาปฏิบัติได้มากมาย ทำให้ลดทุกข์ในชีวิตได้เยอะเลยค่ะ |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | ในโลกนี้หากลุ่มคนที่จะปฏิบัติตามแนวพุทธะได้น้อยเหลือเกิน |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | ท่านอาจารย์ด่ากิเลสได้เจ็บแสบจริงๆ และสามารถปฏิบัติได้จริงไปตามลำดับด้วย |
นางสาว | สำรวย รัตตนะ | รู้ชัด รู้ทันกิเลส คุ้มครองตนด้วยปัญญา อย่าย่อหย่อน |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | ตั้งแต่ฟังท่านอาจารย์มา ก็ได้ลดกิเลสไปทีละตัวทีละตัว ตอนนี้ทุกข์ก็ลดน้อยลง. จะปลูกผักที่กินได้นานให้มากขึ้น จะได้ไม่ต้องเหนื่อยเยอะ เอาเวลาที่เหลือเอาไปทำประโยชน์อย่างอื่น อย่างที่ท่านอาจารย์สอน |
นาง | เฟื่องฟ้า นภาคะเวช | |
นางสาว | ปาวิดา ทองธวัฒน์ | เข้าใจคำว่า "อาสวะ" ลักษณะที่กิเลสแตกตัวออกไปมากขึ้นจากเรื่องการออกกำลังกาย ตรวจใจตัวเองแล้วรู้วาช่ามีกิเลสที่อยากได้ความสมบูรณ์แบบ อยากเป็นแรงเหนี่ยวนำให้หมู่กลุ่ม และเราก็เอากิเลสตัวนี้ไปใช้กับเรื่องอื่นๆในชีวิตด้วย เมื่อทำเรื่องอื่นก็มีกิเลสเกิดขึ้นมาเพิ่ม ทำหลายๆเรื่อง ยิ่งอยากหลายเรื่อง เกิดกิเลสพอกพูน พันกันไปมา เข้าใจสิ่งที่อาจารย์สอนเรื่องโลกสันนิวาสมากขึ้นด้วยคะ |
นางสาว | สำรวย รัตตนะ | ชีวิตพอเพียง ประหยัดเรียบง่าย กินพืชพื้นบ้านในท้องถิ่นร่างกายแข็งแรง จิตใจดีงาม คือใช้ชีวิตแบบวรรณ๙ จิตใจเป็นสุขอย่างแท้จริง |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | เจ๋งค่ะ แต่ยังทำไม่ค่อยได้ ยังกิเลสเยอะ ชอบกินผักปัญญาอ่อน |
นางสาว | สำรวย รัตตนะ | ปลูกพืชพื้นบ้านเป็นหลัก ปลูกพืชเลี้ยงยากเป็นพืชรอง กินผักเกิดง่าย ตายยาก แข็งแรง เราก็จะอายุยืน |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | เห็นด้วยกับที่ท่านอาจารย์สอน แต่บางอย่างมันก็ยังทำไม่ได้นะคะ จะฝึกฝนไปเรื่อยๆนะคะ |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | เห็นด้วยกับท่านอาจารย์ เพราะการพึ่งตนเรียบง่าย คือ หนทางที่ดีที่สุดในปัจจุบันและอนาคต |
นางสาว | ณฐิตา อินชัยยงค์ | ตั้งศีลสู้กิเลส สู้ไม่ไหวขอต่อเวลาเสี้ยววินาทีก็เอา ตีทีละน้อย ชนะด้วยปัญญาชนะด้วยความอดทนด้วย |
นางสาว | สุนันท์ พิมพ์ศรี | มีพลัง สู้ต่อไป แม้จะก้าวไปข้างหน้า1ก้าวถอยหลัง1ก้าว ยึกๆยักๆ ก็ได้บันทึกไว้ เมื่อถึงคราวจำเป็นคงนึกได้บ้าง(กิเลสมักหบอกอยู่เสมอ) |
นาง | เสาวรี หวังประเสริฐ | ความทุกข์จากเวทนา การพิจารณาเวทนาอยู่เนืองๆอย่างใดอย่างหนึ่งสุขเวทนาทุกขเวทนาอทุกขสุขเวทนารู้อย่างใดอย่างหนึ่งจนเวทนาทั้งหลายนั้นสิ้นไปนั่นเองทุกข์จึงไม่เกิดจนเกิดความรู้สึกสุขที่ดีเยี่ยมคือนิพพานที่ไม่มีสุขไม่มีทุกข์เป็นสภาวะที่กิเลสสิ้นเกลี้ยงแล้ว |
นางสาว | รุ่งนภา เพ่งรุ่งเรืองวงษ์ | การใช้หลักอริยสัจ4นำพาพ้นทุกข์ |
นาง | เวียงทอง นุ่นภักดี | คนที่ตั้งศีลมากำจัดกิเลสคือคนที่เกิดอัญธาตุ มีความแววไวมีปัญญา เมื่อมีเรื่องร้ายเกิดขึ้นก็มีปัญญากำจัดความกลัวให้เป็นความกล้าที่จะรับเรื่องร้ายนั้นเพราะเราทำมารับแล้วก็หมดไป เราได้ใช้หนี้ใช้แล้วก็หมดไป |
นาง | ภัคภร จันทราสกุล | กล้าที่จะให้เกิดสิ่งไม่ดี โดยที่จะไม่ทำทุกข์ทับถมตน |
นางสาว | อุรา สังข์ชม | |
นางสาว | อุรา สังข์ชม | |
นาง | สุถัค กิมใช่ย้ง | ได้เรียนรู้การใช้ภาษาที่เรียบง่ายในการย่อยธรรม ให้เข้ากับ หมู่กลุ่ม ได้เทคนิค การโยนิโส ยา 9เม็ด ร่วมกับ หลักธรรม อย่างไม่แปลกแยก |
นางสาว | ประทุมทิพย์ ไชยชิตร | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | ได้ฟัง ก็ได้ลดกิเลสไปเรื่อยๆค่ะ |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | กินพืชปลูกง่ายจะมีพลังมากกว่า |
นาย | สุมิตชัย ศรีจันดี | ชีวิตต้องพ้นสุขสมใจอยาก และทุกข์ที่ไม่ได้สมใจอยากจึงจะได้นิพพาน กิเลสนั้นคือความหลงสุขหลงทุกข์ แท้ที่จริงแล้วกิเลสคือ โง่ที่สุด โง่เกินธรรมดา โง่ ม๊าก มาก ดื้อสุดๆ ด้านสุดๆ ชั่วสุดๆ ทุกข์สุดๆ ประโยชน์ที่ได้รับ ได้เห็นความโง่ของตัวเองที่หลงเชื่อกิเลสมานานและจะเพียรล้างกิเลสออกจากความโง่ ความชั่ว ความทุกข์ให้ได้ ครับ |
นางสาว | อัญชลี พุมแย้ม | ลดละเลิกที่จะอยากได้ของสิ่งต่างๆลง |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | เราควรจะมีปัญญาอ่านกิเลสเป็น กำจัดกิเลสได้ ประโยชน์ที่ได้รับ ทำให้ใจเป็นสุขกายแข็งแรงเกิดเหตุการณ์ดีๆ |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | นิพพานคือ ดับเวทนาได้ ยิ่งกว่าสุข |
นาย | มงคลชัย วิชาธรรม | การลด ละ เลิก การรับประทานเนื้อสัตว์และผลิตจากสัตว์ ควรค่อยๆ ตั้งศีลลดจากที่ชอบน้อยไปหาชอบมาก จะทำให้การลด ละ เลิก ทำได้สำเร็จ เพราะไป |
นาง | เพ็ญศรี มงคลชาติไทย | สภาวะที่ได้จากการฟังธรรม ทุกวันนี้การที่เราไม่เอาจริงกับกิเลสทำให้เราไม่เจริญเสียทีและเราก็จะช่วยเหลือคนรอบข้างไม่ได้ และสิ่งที่สำคัญเราก็จะช่วยเหลือตัวเ องไม่ได้เพราะโดนกิเลสมันหลอกตลอด |
นาง | ชวนพิศ แก้วประดิษฐ | |
นางสาว | เอ็นดู พูลสวัสดิ์ | ปักป่ากินแล้วแข็งแรง |
นางสาว | อมรา อ่อนทรัพย์ | ให้กินผักพื้นบ้านที่ขึ้นเองตามฤดูกาลหรือเรียกหญ้ากับแก้มเกิดขึ้นเองตายยากมีธาตุอาหารที่กินแล้วแข็งแรงมีกำลังทนร้อนทนหนาวได้ดีเป็นพืชวรรณะ๙ |
นางสาว | อมรา อ่อนทรัพย์ | ปลูกผักไร้สารพิษกินเองใช้อินทรีย์วัตถุที่หาง่ายปลูกพืชที่กินกินของที่ปลูก |
นาย | สุนทร คำเหลือง | ลดความยากได้ บ้างชั่วคราว ไม่ทุกข์มาก |
นางสาว | อมรา อ่อนทรัพย์ | ปลูกผักไร้สารพิษกินเองใช้อินทรีย์วัตถุที่หาง่ายปลูกง่ายโตไวไม่ต้องดูแลมาก |
นางสาว | ปาวิดา ทองธวัฒน์ | เวลาที่เกิดกิเลสขึ้นอาการง่ายๆที่สังเกตุได้คือ ไม่สดชื่นแจ่มใส หงุดหงิด ไม่เบิกบาน |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | การปฏิบัติผิดศีล 5 เป็นสิ่งที่ไม่เป็นธรรมไม่เป็นประโยชน์ การปฏิบัติถูกศีล 5 เป็นสิ่งที่เป็นธรรมเป็นประโยชน์ ประโยชน์ที่ได้รับทำให้เราได้รู้ว่าการปฏิบัติถูกศีลจะทำให้ได้รับวิบากดีทั้งในชาตินี้และชาติต่อไป |
นางสาว | 2รัตนา กิจเกื้อกูล | ทำให้ยอมรับสภาพความเป็นจริงที่เรามีอยู่ในปัจจุบัน อยู่กับสิ่งที่เราทำได้ก่อน ไม่เกิดความโลภมาก และไม่ทุกข์เพราะความโลก |
นางสาว | วิภา ถิ่นถาน | จงทำดีเต็มที่ เหนื่อยเต็มที่ ไม่มีอะไรคาใจ "ความอิ่มเอิบ เบิกบาน แจ่มใส" |
นางสาว | ว่าที่ร.ต.หญิงอำนวยพร ดวงโสภา | ช่วยตนพึ่งตนได้ทางรอดของเกษตรไทยการยอมรับวิบากร้ายกล้ารับยอมทิ้งไปไม่ต้องแบกภาระปล่อยไปทิ้งให้หมดเอาตัวรอดได้ปลดปล่อยภาระไม่ต้องแบกรับกล้ารับวิบากร้ายที่เกิดขึ้นกล้าทำดียินดีรับวิบากร้ายที่เกิดขึ้นให้ทำความดีกล้าทำดีประโยชน์ที่ได่รับทำให้หมดกังวลวิตกหวั่นไหวกล้ารับอะไรจะเกิดก็เกิดรับวิบากร้ายให้ร้ายว่าเป็นทำมายอมรับและทำดีเท่าที่ทำได้มีโอกาสทำได้ทำเลย |
นาง | พิกุล วันจันทร์ | ความอยาก เป็นกิเลส ทำให้เกิดทุกข์ |
นางสาว | รสริน สังข์เกื้อ | เมื่อหนูได้เข้าฟังแล้วรู้อิ่มอกอิ่มใจ สบายใจ รู้สึกดีการที่เราได้ฟังธรรมทุกวันจะทำให้หนูมีพลังและสุขภาพดี โดยไม่ต้องกินยาเลยค่ะ เมื่อเราไม่ได้บวชชี แต่ได้บำเพ็ญท่ากับบวชจิต นี่และค่ะหนทางพ้นทุกข์ที่แท้จริงสาธุค่ะ |
นาง | เกษร อินต๊ะปัญญา | ถามตัวเองว่า เมื่อไหร่? จะเอาจริงเอาจัง เด็ดขาด ซักทีเราจะพ้น เราจะผลทุกข์ต้องเอาจริงเอาจัง มีมีปัญญาเห็นชัด ก็จะเอาชนะกิเลสได้กล้าแรงแรง กล้าแรงแรงไม่ใช่กล้าแบบเหยาะแหยะต้องตั้งศีล ทำให้เห็นชัดว่ากิเลส มันเป็นมาร มาหลอกเรา ต้องกล้าแรงแรง ตายเป็นตาย สู้สุดใจ ลองดูสักชาติ ขยัน พิจารณากิเลส พร้อมปล่อยวางได้ทุกเมื่อ ให้หายทุกข์ ให้หายโง่ ให้หายชั่ว ซักที จะได้พ้นทุกข์ซ้ำซาก จะได้พ้นโง่ซ้ำซาก จะได้พ้นชั่วซ้ำซาก ปฏิบัติให้ถึงศีล ศีลจะนำพาความสุข สิ่งดีทุกมิติมาให้ นำนิพพานมาให้ “กิเลส มันเอาสุขมาล่อ เอาทุกข์มาหลอก” ชีวิตนี้ ไม่มีอะไรยิ่งใหญ่ กว่าการเอาชนะกิเลส ในใจตนเอง |
นางสาว | ประทุมทิพย์ ไชยชิตร | อัตตาหิอัตโนนาโถ ตนเป็นที่พึงแห่งตน กับเหตุผลไม่ใช่ข้ออ้าง อะไรที่คิดแล้วทำให้ทุกข์ก็ให้เลิกคิด คิดแต่แต่เรื่องที่ไม่ทุกข์ ซึ่งตอนนั้นกำลังทุกข์กับความคิดเตัวเอง ทุกข์กับเรื่องที่ไม่ได้ดังใจ ที่มันเป็นเรื่องไร้สาระมากๆ ที่คนข้างๆเราเกิดการเปลี่ยนใจไม่กินอาหารร้านที่เราเลือก ซึ่งตอนเลือกเราก็เลือกร้านที่ใกล้สุด โดยไม่คิดอะไร พอไปถึงร้านนั่งเรียบร้อยดูเมนู เมนูเป็นอาหารวีแกน เรานี่ใจพองโตขึ้นมาเลย จะได้เลือกกินเมนูแปลกใหม่ หลังจากใจพองโตได้ไม่กี่นาทีคนข้างๆ บอกเราเปลี่ยนร้านกันไหม ทันทีที่ได้ยินก็ตอบไปว่า ฉันขอสั่งดื่มก่อนไหมฉันกระหายน้ำ เขาก็บอกว่าโอเค ก็สั่งน้ำที่ในเมนูเค้าเขียน three red คือน้ำที่มีผลไม้สีแดง 3 ชนิดรวมกัน ก็สั่งแบบกลับไปทานที่อื่นที่เราจะหาร้านใหม่ ตอนก่อนจะได้ดื่มน้ำก็สึกหิว ที่นี่เกิดอาการไม่ชอบ น้อยใจว่าเราบอกจะกินอาหารตอนบ่าย 3โมง นี่ก็4โมงกว่าแล้วยังไม่กิน เลือกร้านแล้วก็เปลี่ยนใจอีก คิดฟุ้ง ยิ่งคิดยิ่งหิว ยิ่งคิดยิ่งเครียด ก็พยายามเลิกคิดก็ยังคิดอยู่ หลังจาก ได้ดื่มน้ำ ปั่นไปก็รู้สึกดีขึ้น หิวน้อยลง เหมือนจะไม่หิวเลยก็ว่าได้ แต่อารมณ์ไม่ชอบ ไม่พอใจ น้อยใจ ที่คนข้างๆไม่ยอมกินอาหารร้านนั้น คือ กิเลสตัวนี้จะเกิดขึ้นบ่อยมาก แล้วดับ มันได้ช้ามาก แล้วถึงขั้นน้ำตาไหลเลยนะค่ะ มันมาแรงแล้วก็นาน เลยคุยกับมันว่า แล้วมึงรู้สึกอย่างไงตอนนี้ หิวเหรอ หิวมากเหรอ มันก็ว่าไม่หิวเท่าไหร่นะ ทนได้ไหม ก็ทนได้นะ ได้น้ำผลไม้ปั่นไปก็อิ่มอยู่นะ แล้วเมิงไม่พอใจอะไร ไม่ชอบอะไร ทำไมแสดงกิริยาไม่พอใจออกมา มันบอกว่าก็ไม่ชอบที่เปลี่ยนร้านอาหาร แล้วสุดท้ายก็ไม่มีร้านให้กิน เป็นแบบนี้ บ่อยมากเลยเลือกเยอะ เดินจนเมื่อจนเมื่อยกว่าจะได้กินนะบางที เออหยุดเลยตอนนี้ดูซิว่าหิวแบบจะไม่ไหวไหม ไม่ได้กินแล้วจะตายไหม ก็ไม่ตายนะอยู่ได้นะแล้วจะอะไรอีก ก็ฉันกินตั้งแต่ 09.00น.นะเมื่อเช้า มันยังไม่จบ เปิดเข้ามาในซุมมาเจออาจารย์ อาจารย์บอกว่า คิดให้ทุกข์จะคิดทำไม คิดให้ทุกข์แล้วเก่งกันนัก ขยันคิดกันนัก ไปอาบน้ำสระผมดูซิเผื่อมันจะดีขึ้นแล้วเลิกคิดให้ทุกข์ซักที หิวก็ไม่หิว ก็ไปอาบน้ำสระผม แล้วมาคุยกันใหม่ว่าไปกินไรกันดี ความทุกข์ก็หายไปแต่ความทุกข์ตัวนี้เวลามันเกิดขึ้นแล้วมันดับได้ช้ามากๆเลยต้องฝึกกันต่อไป รู้ว่าคิดแล้วทุกข์ยังขยันคิดโง่จริงๆเลยเรา |
นางสาว | ธัญญภัทร์ ศรีมา | ทำให้เราฝึกล้างกิเสลไม่เชื่อก็เสล |
นางสาว | ประภาพรรณ โอษฐ์ยิ้มพราย | ชีวิตอยู่อย่างเรียบง่าย ปลูกอยู่ปลูกกิน อย่างไงเราก็อยู่ได้สบายๆ ประโยชน์ที่ได้รับคือ ทำให้เรามีพลังในการปลูกผัก ผลไม้เพิ่มขึ้น เพื่อประหยัดซื้อให้น้อยเท่าที่จำเป็น ไม่จำเป็นต้องออกไปจ่ายไหนเรามีกินมีใช้ |
นางสาว | ดรุณวรรณ แซ่ห่าน | สรุปสภาวะที่ได้จากการฟังธรรม ดิฉันมีจิตใจที่เข้มแข็งขึ้น ไม่มีความทุกข์กาย ทุกข์ใจมากเหมือนเมื่อก่อน มีความกล้าที่จะแนะนำผู้ที่สนใจ มีความมั่นใจในตัวเอง ไม่กลัว ไม่หวั่นไหวในชีวิต ประโยชน์ที่ได้รับคือสามารถช่วยเหลือ ดูแลสุขภาพตนเองด้วยยา 9 เม็ดของท่านอาจารย์หมอเขียว แพทย์วิถีธรรม คะ |
นางสาว | ตรีทิพย์นิภา ไทยรักษา | รู้เหลี่ยมรู้การกนะทำทุกอย่างมันมาจากเห็นทำให่ปลดปล่อยนิ่งๆมากกว่าเดิมเรื่อยไป |
นาง | อรทัย สุธธิเสน | เข้าใจในพระธรรม |
นางสาว | สุภารัตน์ จันโดน | การฟังธรรมจากอาจารย์หมอเขียวทุกวัน เพิ่มปัญญาทุกวัน |
นางสาว | สุดใจ โสะหาบ | ได้เข้าใจวิธีการลดกิเลสได้ชัดเจนขึ้นในแต่ละแง่มุมต่างๆ |
นาย | คมเวช หงส์เชิดชัย | ฟังเกือบทุกวันแต่จำำม่ได้เพราะไม่สะดวกในการเขียน |
นางสาว | วิภาวัลย์ ถนัดธรรมกุล | ประมาณตนเองให้ลดละตัวตน ออ่นน้อมไม่ทำลายน้ำใจ ผู้อื่นเต็มใจเป็นคนสอนง่าย |
นาง | รมิตา ซีบังเกิด | ในเรื่องขององค์คุณอุเบกขา5 คือสภาวจิตวิญญาณบริสุทธิ์ไร้กิเลส เมื่อเราปฎิบัติอริยสัจ4ได้จะมีปัญญาอ่านกิเลส ชำระกิเลสได้ จึงจะพ้นทุกข์และเป็นประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น |
นาง | นปภา รัตนวงศา | 12/493 มหาเวทลับสูตร การสนทนาธรรมที่ทำให้เกิดปิติ 494 เรื่องปัญญากับวิญญาณ บุคคลมีปัญญาทรามด้วยเหตุใด คือผู้ไม่รู้เรื่องอริยสัจสี่ #หมดอยากในทุกเรื่องก็หมดทุกข์ บุคคลมีปัญญารู้ชัดอริยสัจสี่ รู้ชัดว่าน้อยเดียวก็ อุบาศว์ ชาติชั่ว ถ้าทำได้จะได้ องค์คุณอุเบกขา5 กัมมัญญา การกระทำประกอบด้วยปัญญา อ่านอาการกิเลสได้แล้วชำระกิเลสได้ 19/1694 อวิชชาสูตร ความโง่ ความไม่รู้ ความไม่รู้ในอริยสัจ4 ตกอยู่ในอวิชชา จึงควรกระทำความเพียรในอริยสัจ4 19/1694 วิชชา วิชชา คือรู้ในอริยสัจ4 จึงควรทำความเพียรในอริยสัจ4 34/1700 วัชชีสูตร 2 รู้ชัด/ไม่ชัดด้วยอริยสัจ4 ใครไม่รู้จักอริยสัจ4 ไม่นับเป็นสมณะหรือพราหมณ์ ไม่แจ้งซึ่งประโยชน์สูงสุดด้วยปัญญาอันยิ่ง ถ้ารู้ชัดจะตรงกันข้าม คนโง่จะไม่กล้าฆ่ากิเลส กิเลสคนตอแหลทิ้งแต่ทุกข์ไว้ให้เรา ถ้ารู้เรื่องอริยสัจ4 จะถึงพร้อมด้วยเจโตวิมุติและปัญญาวิมุติ ใครได้แล้วจะไม่ถอยหลัง จะได้สภาวะนิพพาน7 มีโอกาสให้รีบพิสูจน์ 24/105 อวิชชาเป็นประธานการเข้าถึง อกุศลธรรมทั้งหลาย ความไม่ละอายบาป ความไม่กลัวบาปเป็นของมีมาตามอวิชชานั้น |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | ทุกเรื่องที่อาจารย์สอนเป็นประโยชน์ทั้งสิ้น |
นางสาว | ประภัสสร ชาญชัยชูจิต | |
นางสาว | วาสนา ทูลแก้ว | นำคำสอนของท่านอาจารย์มาปฏิบัติทำให้ค่อยๆ ล้างกิเลสในข้อนั้นๆ ได้ ประโยชน์ที่ได้รับทำให้จิตใจเราสบายใจขึ้น ไม่สร้างทุกข์ทับถมตัวเองอีก |
นาง | นบชุลี เสาวนา | |
นางสาว | ชุติวรรณ แสงสำลี | ได้พ้นทุกข์ใจ จิตเบิกบานแจ่มใสมีข้อปฏิบัติในการ ลดละเลิกกเลสได้ |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | คนที่อยู่แบบวรรณะ 9 ในยุคโควิดได้ เป็นคนที่ทันสมัยแะจะอยู่รอดได้ |
นางสาว | ปัทมา ลีฬหาวงศ์ | เลี้ยงกิเลสทำให้โง่ |
นาง | เฟื่องฟ้า นภาคะเวช | |
นาง | ณัชญ์ชาพัฒ วงศ์วิวิทย์ | ได้แนวปฏิบัติ สังเกตเห็นทุกข์ แต่ยังจำบททบทวนธรรมไม่ค่อย ได้ จะพยายามอ่านบ่อยๆ ค่ะ |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | จริงค่ะท่านอาจารย์ แต่ส่วนมากมักจะหวังอะไรเล็กๆ เช่นคำขอบคุณ รอยยิ้ม |
นาย | ธนวินท์ อินทนิล | |
นางสาว | ทรงรัตน์ พรหมช่วย | ทำให้ตัวเองมีกำลังใจในการตั้งศีลที่ยสกได้ดีขึ้น |
นาง | เฟื่องฟ้า นภาคะเวช | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | เบิกบานทุกครั้งที่ได้ฟังท่านอาจารย์ แม้กำลังทุกข์ ก็ปลดทุกข์ได้ |
นางสาว | ปาวิดา ทองธวัฒน์ | การให้โดยไม่คิดจะเอาอะไรจากใคร เป็นการให้ที่สบายใจ เบาใจ ไม่หวังแม้คำชม รอยยิ้ม หรือความรู้สึกดีใดๆ |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | เวลาแบ่งปันแล้วอย่าไปขอได้อะไรจากใคร ดูว่าให้แล้วมีกิเลสอะไรปนหรือป่าว ถ้าเผลอก็ซวยเลย |
นางสาว | อัญชลี พุ่มแย้ม | คลายความทุกข์ใจ มีความสุขมากขึ้น |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | ได้สำรวจตัวเอง คิดผิดทุกวัน. ทุกข์ทุกวัน |
นาง | ธมกร พลสุวรรณ | เห็นตามความเป็นจริงว่า ทุกอย่างไม่ใช่ของเรา ตั้งอยู่ชั่วคราว เช่น ร่างกายเราจะสั่งไม่ให้แก่ ไม่เจ็บ ไม่ตาย หรือสั่งไม่ให้หิว ฯ ก็สั่งไม่ได้เนื่องจากในโลกนี้ไม่มีอะไรที่เป็นของเรา ทำให้เรามองเห็นถึงความเป็นอนัตตา ประโยชน์ที่ได้รับคือ การปล่อยวาง ไม่ยึดติด (ว่านั่นเป็นฉัน ของฉัน) |
นาง | พิกุล วันจันทร์ | ความอยาก กิเลส ทำให้ทุกข์ |
นาง | เกษร อินต๊ะปัญญา | ทุกสิ่งทุกอย่าง สั่งไม่ได้ กำหนดไม่ได้ มันไม่เป็นของเรา ถ้าเป็นของเรา เราต้องสั่งได้ ชีวิตใด…เข้าใจแล้วก็ไม่ทุกข์ |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | รับกรรมปัจจุบันดีที่สุด รับกรรมแจ้งจะหายโกรธเลย |
นางสาว | สมทรง นาคสงทอง | ศีล ตั้งศีลมา ลด ละ เลิก ไปทีละเรื่องๆอันไหนที่เป็โทษเป็นภัยเลิกก่อนสุขที่สมใจยากคือทุกข์ที่ไม่สมใจอยาก |
นางสาว | พริมรัศมิ์ จิวเลิศเลขา | ปัญญาเป็นเหมือนอาวุธธรรมที่มีพลังยิ่งใหญ่ เป็นแสงสว่างนำทางชีวิตให้กับมนุษย์ บุคคลใดที่เจริญแล้วกระทำให้มากแล้วย่อมเป็นไปเพื่อปัญญา เพื่อความไพบูลย์ ความเจริญ ชำแรกกิเลส นำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน |
นางสาว | อมรา อ่อนทรัพย์ | การแบ่งปันเป็นที่พึ่งของชีวิตผู้ให้ของที่เลิศย่อมได้ของที่เลิศผู้ให้ของที่ประเสริฐย่อมได้ของที่ประเสริฐจะมีแต่วิบากดีเป็นผลในการปฎิบัติที่ถูกตรงการให้แล้วไม่คิดที่จะไม่เอาอะไรจากใครให้ได้เป็นสุขอย่างยิ่ง |
นางสาว | อุษา บุตรพรม | ทุกข์เกิดจากความอยาก หมดอยากหมดทุกข์ |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษีข | คนที่พ้นทุกข์กับคน ที่ไม่พ้นทุกข์ ห่างไกลกันไกลแสนไกล ประโยชน์ที่ได้รับ ทำให้รู้ว่า เราต้องรีบลดกิเลส เพื่อที่จะรีบ ปฏิบัติตัวไปสู่ความพ้นทุกข์ จะได้ ทำให้เกิดปัญญามากขึ้น จะทำให้ดับทุกข์ใจทุกข์กายและเรื่องร้าย ได้ไปเป็นลำดับ |
นาง | วราภา ร่าหมาน | ธรรมของอ.หมอเขียว ยิ่งฟังช้ำๆยิ่งดีจะได้เข้าใจมากขึ้นและนำมาปฎิบัตกับภาวะของตัวเองตามที่อ.หมอสอนแล้วทำให้จิตใจสงบและเบิกบานค่ะ |
นางสาว | ผาสุข ตันชวลิต | ปัญหาทุกปัญหา เกิดจากคนโง่กว่ากิเลส กิเลสมีหน้าที่ทำให้ใจเป็นทุกข์ ซึ่งต้องตรวจดูว่ายังม่ีสิ่งใดที่ยังยึดมั่นถือมั่นหรือไม่ และใช้ปัญญาล้างความยึดมั่นถือมั่นนั้นเสีย |
นางสาว | อมรา อ่อนทรัพย์ | ลดกิเลสไม่ได้ตายเสียยังดีกว่าการลดกิเลสลดโรคลดค่าใช้จ่ายลดทุกปัญหา |
นาง | อรทัย มะณู | |
นางสาว | ประทุมทิพย์ ไชยชิตร | |
นางสาว | ดรุณวรรณ แซ่ห่าน | สภาวะที่ได้รับจากการฟังธรรมจิตใจแจ่มใส มีหนทางและปัญญาจะฆ่ากิเลสคะ ประโยชน์ที่ได้รับมีความสุขใจ |
นางสาว | วิภา ถิ่นถาน | ได้รับความรู้ดีมาก ทำให้ใจสงบลง |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | ถ้าเราลดกิเลสได้ จะทำให้ดับทุกข์กายทุกข์ใจและเรื่องร้าย ประโยชน์ที่ได้รับ จะทำให้ใจเป็นสุข กายก็แข็งแรง |
นาง | เพ็ญศรี มงคลชาติไทย | สภาวะที่ได้เข้าใจในธรรมที่ได้รับทำให้นำไปปฏิบัติและเห็นผลได้จริงพ้นทุกข์ได้จริง |
นางสาว | เอ็นดู พูลสวัสดิ์ | ชีวิตไม่กลัวตายอยู่ก็ทำดีต่อตายก็ตายเกิดใหม่ก็ทำดีต่อ |
นางสาว | เอ็นดู พูลสวัสดิ์ | ธรรมะของสัตรบุรุษคือความพ้นทุกข์ |
นางสาว | อุรา สังข์ชม | |
นาง | ชวนพิศ แก้วประดิษฐ | |
นางสาว | ตรีทิพย์นิภา ไทยรักษา | นอมใจยอมรับวิบากกรรม |
นางสาว | ประทุมทิพย์ ไชยชิตร | |
นางสาว | แก้วใจเพชร กล้าจน | สบายใจในการช่วยคน และตัดขีด ตัดรอบในการช่วยเหลือคนอื่น ประโยชน์ที่ได้รับ คือ ทำดีอย่างมีความสุข |
นางสาว | ปัทมา ลีฬหาวงศ์ | เสียงเพชรจากใจเพชร ความเสื่อมของชาวพุทธ ๗ ประการ ๑. ขาดการเยี่ยมเยียนภิกษุ (หมู่มิตรดี) ๒. ละเลยการฟังธรรม ๓. ไม่ศึกษาในอธิศีล (ศีลชั้นสูง) ๔. ไม่เลื่อมใสอย่างมากในภิกษุ ทั้งที่เป็นเถระ (ผู้ใหญ่) เป็นผู้ใหม่ และปานกลาง ๕. ตั้งจิตติเตียน คอยเพ่งโทษฟังธรรม ๖. แสวงหาเขตบุญภายนอกศาสนาพุทธ ๗. ทำสักการะก่อนในเขตบุญภายนอกศาสนาพุทธ พระไตรปิฎก เล่ม ๒๓ "หานิสูตร" ข้อ ๒๗ ดร. ใจเพชร กล้าจน (หมอเขียว) ๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕ อปริหานิยธรรม ภาคค่ำ |
นางสาว | ประภัสสร ชาญชัยชูจิต | สภาวะธรรมที่ได้จากการฟังธรรม คือ หากไม่ลดกิเลสก็จะไม่มีทางพ้นทุกข์ จะพบกับความตีบตัน ชีวิตจะเจริญและห่างไกลความทุกข์ ต้องฟังธรรมจากสัตตบุรุษเท่านั้น ประโยชน์ที่ได้รับทำให้รู้แจ้งว่า สุขที่ยอดเยี่ยมและยิ่งใหญ่ มีค่่าทีุ่ด คือการกำจัดสุขสมใจอยาก |
นาง | เฟื่องฟ้า นภาคะเวช | |
นาง | ภัคภร จันทราสกุล | |
นาย | สุมิตชัย ศรีจันดี | ถ้าไม่มีสุขสมใจอยากทุกเรื่องก็จะไม่มีทกข์ที่ไม่สมใจอยากและก็จะไม่มีทุกข์ทั้งหมดทั้งมวลตลอดกาลประโยชน์ที่ได้รับได้ฟังธรรมะที่ยังไม่เคยฟังนำมาปฏิบัติเพื่อลดทุกข์ลดกิเลสในชีวิตประจำวันครับ |
นางสาว | รสริน สังข์เกื้อ | จากเมื่อก่อนอารมณ์ไม่ค่อยดี มีแต่ความเครียด มาตอนนี้กลายเป็นคนอารมดีชอบฟังอาจารย์ในการบรรยายธรรมะ พาพ้นทุกข์ |
นางสาว | ปาวิดา ทองธวัฒน์ | เราต้องวางตัวที่เป็นโทษแล้วมายึดตัวที่เป็นประโยชน์ก่อนในเบื้องต้น หลังจากนั้นจึงค่อยวางตัวที่เป็นประโยชน์เข้าสู่อุเบกขาให้ได้ |
นางสาว | วิภาวัลย์ ถนัดธรรมกุล | ได้เข้าใจในข้อธรรมที่ไม่เคยรู้มาก่อน เมื่อฟังย้ำซ้ำๆทำให้เข้าความหมายมากขื้น เกิดปัญญาในการต่อสู้กับวิเลส |
นาย | คมเวช หงส์เชิดชัย | 2/2/65 |
นางสาว | กมลชนก ทุมวงษ์ | ทุกครั้งเมื่อได้ฟังท่านอาจารย์บรรยายเรื่องคนคู่ รู้สึกดีใจที่รอดจากขุมนรกมาได้ไม่ได้ไปอยากมีคู่เหมือนเมื่อก่อนที่จะต้องแต่งตัวทำให้ผู้ชายสนใจหรือที่จะต้องไปอยู่กันเพื่อที่จะสนองตัณหากิเลสต่างๆทำให้เกิดวิบากเพิ่ม ณ ตอนนี้มีความสุขกาย สุขใจ เอาเวลามาดูแลตัวเองให้ดีและพร้อมที่จะช่วยผู้อื่นให้พ้นทุกข์ |
นาง | สายพิมพ์ ลิ้มไพบูลย์ | ตราบใดที่ยังไม่สิ้นลมหายใจ จงอย่าปล่อยเวลาให้สูปเปล่า จงใช้เวลาที่เหลืออยู่คว้าโอกาสทองด้วยการพึ่งตนและช่วยคนให้พ้นทุกข์ เป็นโสลกธรรม ที่กระตุ้นเตือนให้เรามีมานะและความเพียรที่จะทำความดีในโลกใบนี้ให้คุ้มค่ากับการที่ได้เกิดเป็นมนุษย์ พบพุทธศาสนา พบกัลยาณมิตรที่ดี |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | ปกติจิตเรียกได้ว่าจะไม่อยู่นิ่ง มีความคิดปรุงแต่งเข้ามาได้ตลอดเวลา ดังนั้นปัญญาจึงสำคัญมากที่จะจับความคิดที่ผุดได้ทัน ก่อนที่จะก่อวิบาก |
นางสาว | ประภาพรรณ โอษฐ์ยิ้มพราย | รากเหง้าของความคิดให้ตัวเองทุกข์คือความสุขสมใจอยาก กลัวสิ่งนั้นจะหมดไปจริงๆจากเราทั้งๆที่รู้มันไม่เที่ยง มันไม่มี แต่ก็ไปยึดว่ามันต้องอยู่กับเราตลอดไป โง่จริงๆ หากเรามิได้เจออาจารย์ชี้นำเราจะโง่หลงในสุขนั้นตลอดไป อาจารย์ว่าโง่พิเศษ นั้นจริงเทียว คิดได้ไง คิดให้ทุกข์หาเรื่องหาทุกข์มาให้ตัวเองแท้ๆเมื่อไหร่เล่าเราจะพ้นทุกข์ บัดนี้ไม่โง่ไปคิดให้ทุกข์แล้วค่ะ |
นางสาว | สุภารัตน์ จันโดน | ฟังธรรมทุกวันพ้นทุกข์ทุกวัน การฟังธรรมสัตบุรุษทำให้เกิดปัญญานำไปแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้ ฟังธรรมจากอาจารย์ไม่เครียด สนุกสนานเบิกบานแจ่มใสไร้กังวล |
นาง | ชลิดา วรรณเกษมสุข | |
นาง | ณัชญ์ชาพัฒ วงศ์วิวิทย์ | เข้าใจความหมายของวันแห่งความรักของพุทธะ และจะนำไปปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ใจค่ะ |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | จริงๆค่ะทุกวันนี้หลุดพ้นจากกิเลส (บางตัว) ได้ก็เพราะหมั่นฟังธรรมจากท่านอาจารย์ทุกวันทุกวัน จนอยู่นิ่งไม่ได้ต้องทำตามคำสอนค่ะ |
นาง | วิศน์ชญาพัชร์ ธรรมราช | |
นางสาว | ปาวิดา ทองธวัฒน์ | วิธีแก้ปัญหาทุกอย่างในชีวิตคือการรักษาศีลให้ดี เริ่มต้นที่ศีล 5 ให้บริสุทธิ์ |
นาง | พิกุล วันจันทร์ | คนมีปัญหาคือคนไม่มีปัญญา |
นางสาว | ณฐิตา อินชัยยงค์ | ฟังแล้วช่วยเน้นย้ำเข้าใจชัดขึ้นในเวทนาหลอก เกิดขึ้นตั้งอยู่ดับไป จะนำไปฝึกอ่านและลดละเลิกกิเลสไปตามลำดับ ฝึกยึดฝึกวางทั้งดีและชั่ว ต้องพร้อมปรับพร้อมเปลี่ยนและหาประโยชน์ให้ได้ทุกเรื่อง |
นาง | วสา ราญคำรัตน์ | |
นาง | วสา ราญคำรัตน์ | ใช้ข้อที่เราระลึกเสมอว่าสิ่งที่เราได้รับคือสิ่งที่เราทำมาได้รับแล้วก็หมดไป |
นาง | รมิตา ซีบังเกิด | |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | คนมีกุศลร่วมกันฟังแล้วเข้าใจมีฉันทะร่วมกันมีแต่ความเจริญ |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | ความพร่อง ความพลาด ของเราก็เป็นของเราของเขาก็เป็นของเขา |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | ถ้าเสพกามพยาบาทเบียดเบียน มันจะทำให้เดือดร้อนทั้งต่อตนเองและผู้อื่น ส่วนการละกามพยาบาทเบียดเบียนทำให้ปัญญาเกิด และจะทำให้เกิดประโยชน์ทั้งต่อตนเองและผู้อื่น |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | ใช้สิ่งที่ประหยัดเรียบง่าย อยู่ใกล้ตัวในตัว ไม่มีโทษ มาทำให้เกิดประโยชน์สูงสุด |
นางสาว | เอ็นดู พูลสวัสดิ์ | พรากเพียรแก้ไขด้วยการทำดี |
นางสาว | ชุติวรรณ แสงสำลี | ได้ฟังธรรมของสัตบุรุษ คนที่มีความเห็นถูกต้อง มีสัปปุริสธรรม 7 ทำให้เป็นผู้รู้ธรรม เป็นผู้รู้สาระประโยชน์ เป็นผู้รู้ตน เป็นผู้รู้ประมาณ เป็นผู้รู้เวลาอันควร เป็นผู้รู้หมู่คน เป็นผู้รู้บุคคล พร้อมที่จะพากเพียรฝึกฝนตนเองให้พัฒนาเจริญในธรรมยิ่งๆขึ้นไปตามรอย ข้อไหนที่พร่องทำไม่ได้ดีก็ตั้งศีลเพิ่มขึ้น |
นางสาว | เอ็นดู พูลสวัสดิ์ | ลดกิเลสได้พลังความดีข้ามภพข้ามชาตื |
นางสาว | ประทุมทิพย์ ไชยชิคร | การอยากได้ดีจากคนอื่นเป็นทุกข์ ความอยากมันเป็นทุกข์ อยากได้ดีมากๆทำไม่ดีได้ทุกเรื่อง เมื่อไหร่จะหมดอยากได้ดีจากคนอื่นสักที ฝึกลดอยากได้ดีจากได้ดีจากคนอื่นโดยการใช้บททบทวนทำที่ว่าเริ่มต้นที่เรานับหนึ่งที่เรา ฝึกตัวเองให้ดีก่อนที่จะอยากได้จากคนอื่น |
นางสาว | สัสยา วาทยานนท์ | ทำของอาจารย์ซึ้งใจมากคำว่าโง่พิเศษ |
นางสาว | ณฐิตา อินชัยยงค์ | ได้เห็นตัวเองยังขาดฉันทะ จะพยายามฝึกยินดีกับเรื่องร้ายหรือเรื่องไม่ชอบใจที่เข้า จะฝึกยินดีเอาประโยชน์ให้ได้ทุกเรื่องทั้งดีและร้าย |
นางสาว | รสริน สังข์เกื้อ | เป็นคนชอบทำบุญอยู่แล้วค่ะ และมีจิตที่ไม่อยากเบียดเบียนเนื้อสัตว์ ไปวัดเห็นพระสงฆ์ทานเนื้อสัตว์ ก็มีจิตใจที่ไม่ชอบพระ ทำไมไม่สอนให้คนลดละเลิก เกี่ยวกับการทานเนื้อสัตว์ ถึงทำบุญไปกับทางวัดก็เสียดายเงิน พอมาเจออาจารย์ได้ประมาณ6เดือนกว่าๆ ใช่เลย นี่แระที่ค้นพบมานาน เพราะหนูฝึกเขี่ยทานเจมาตั้งแต่อายุ29ปี ตอนนี้ย่าง41 ได้เริ่มลงมือเลิกเนื้อสัตว์1ปีกว่าแล้ว รู้มีพลังมากเมื่อมาเจอหมู่มิตรดี |
นางสาว | อมรา อ่อนทรัพย์ | จรณะ15ข้อปฎิบัติเพื่อบรรลุธรรมผู้มีศิลมีหิริโอตัปปะความละอายเกรงกลัวต่อบาปไม่กล้าทำผิดศิลที่ทำให้ตัวเองผู้อื่นสัตว์เดือดร้อนหรือทุกข์ทรมาน |
นางสาว | ลำพึง ก๋งจิ๋ว | ได้ฟังเรื่องใหม่ๆเพิ่มเติมเยอะมากให้ได้ มีปัญญาตามกิเลสทัน มากขึ้น |
นางสาว | อมรา อ่อนทรัพย์ | เรื่องวรรณะ๙การทำตัวเป็นคนน่ายกย่องน่าสรรเสรฐิ๙อย่างเป็นคนมักน้อยกล้าจนขัด้กลากำจัดกิเลสสิ่งที่ไม่จำเป็นสละออกนำสิ่งจำเป็นมีประโยชน์นำเข้า |
นาง | วันเพ็ญ ตั้งสกุลวงศ์ | ถ้าเราทำความยินดีให้ได้ทุกสถานการณ์ เราก็จะเป็นสุขทุกสถานการณ์เช่นกัน |
นางสาว | ตรีทิพย์นิภา ไทยรักษา | รับฟังตรงทุกวัน..พร้อมปรับให้ได้ห้องสีเขียวได้รู้จักห้องสีแดงที่ไม่ดีเอากิเลสออกไปจากร่าง |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | ให้หมั่นตั้งอธิศีล อธิจิต อธิปัญญา เห็นภัยในโทษกิเลสแม้เพียงเล็กน้อย |
นางสาว | ภนิดา ปิ่นมณี | ตัดกเลสได้เป็นลำดับๆคะ |
นาย | นาย สุนทร คำเหลือง | ได้ฟัง อ.หมอ กิเลสแม้น้อยนิดแต่ทุกข์มากได้คิดกับใจตัวเองที่มีกิเลสมีทุกข์เกิดขึ้นด้วยกลัวว่าสและผิดศีล เช่นกินเนื้อสัตว์เป็นบางครั้งกลัวว่าหมู่มิตรของจิตอาสาจะไม่รับเข้ากลุ่มแล้ว ได้รู้เพิ่มการผิดศีลใจยากจะพยายามไม่ให้ผิดรสกามคุณทั้ง๕ |
นางสาว | ดรุณวรรณ แซ่ห่าน | สภาวะธรรมจากการฟังธรรม ทำให้ได้ฝึกฝนล้างกิเลสจับทุกข์ในจิตในแง่มุมต่างๆ ประโยชน์ที่ได้รับ ได้รู้เท่าทันกิเลสในใจและการกระทำคะ |
นางสาว | กมลชนก ทุมวงษ์ | เมื่อได้ฟังท่านอาจารย์หมอเขียวบรรยายเรื่องนี้แล้ว ก็ย้อนกลับมาที่ตัวเองว่าทุกปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นเพราะเราทำมาทั้งสิ้นไม่ว่าจะเป็นเรื่องอะไรก็ตามที่มากระทบผัสสะาต่างๆใช้วิธีล้างใจตัวเอง เมื่อทำแล้วไม่ไหวก็พักแล้วกลับาตั้งหลักแล้วกลับไปสู้ใหม่ ประโยชน์ที่ได้รับ ได้รู้จักกับการรับ การล้าง การทำใจ การสู้ การถอย และการพักกับตัวเอง ซึ่งเป็นยาเม็ดที่ 8 ธรรมะและยาเม็ดที่ 9 การรู้เพียรรู้พัก ซึ่งเป็นยาเม็ดเลิศ |
นาง | กอยกุล ดีสุกใส | กินพื้นบ้าน เกิด ได้ ง่ายๆ มีคุณค่าอ่อนโยนเข้มแข็ง สบายที่เกิดง่าย สบายที่สุดแข็งแรงที่สุดมี ประโยชน์ ที่สุดดีที่สุด กินพืชกินได้แล้ว เบากายมีกำลัง เช่นดาวดอยกล้วยตาก หยวกกล้วยปีกล้วยป่า |
นาย | สุมิตชัย ศรีจันดี | เรื่องการกินอาหารเกิน แล้วกิเลสหลอกในเหลี่ยมเสียดายบ้าง และหลอกว่าจะเป็นประโยชน์ จะเอาไปทำปุ๋ยก็ไม่กล้าเพราะคิดว่ากินจะเป็นประโยชน์กว่าทำปุ๋ย แท้ที่จริงแล้วการกินเข้าไปจนเกินนั้นเป็นโทษและยังเป็นการเบียดเบียนตนเองการนำไปทำปุ๋ยนั้นจริงเป็นประโยชน์จริงกินเข้าไปกลายเป็นพิษ ประโยชน์ที่ได้รับ นำธรรมะนี้มาปรับใช้กับตัวเองซึ่งกินเกินอยู่บ่อยๆได้ปัญญามาล้างกิเลสเรื่องกินได้ดีมากครับ |
นาง | ชวนพิศ แก้วประดิษฐ | |
นางสาว | ปาวิดา ทองธวัฒน์ | ล้างกิเลสให้สิ้นเกลี้ยง โดยจับอาการกิเลสให้ได้เวลาที่มันเกิดขึ้น โดยเฉพาะเวลาที่ไม่ได้ดั่งใจ ต้องขอบคุณคนที่ไม่ได้ดั่งใจ และเหตุการณ์ที่ไม่สมใจเรา |
นางสาว | ปัทมา ลีฬหาวงศ์ | ปัญหาทั้งหมดเริ่มต้นที่เรา นับหนึ่งที่เราแก้ที่เราล้างชอบชังที่เราจบที่เราไม่ใช่ผู้อื่นหรือโทษผู้อื่นทุกอย่างมันเป็นวิบากกรรมเขาวิบากกรรมเราไม่มีใครทำอะไรเราไม่มีอะไรต้องทุกข์ใจ |
นาง | ธมกร พลสุวรรณ | จากการฟังธรรมทำให้เห็นถึงอานุภาพของกิเลสตัณหาในทุกๆเรื่อง ฉนั้นเราต้องรู้ให้เท่าทันกิเลสตัณหาอย่าปล่อยให้มาครอบงำเราได้ / ประโยชน์ที่ได้รับจากการฟังธรรมสามารถนำมาปฎิบัติใช้ในชีวิตประจำวัน |
นางสาว | อุษา บุตรพรม | ลด กิเลส ได้ ตามลำ ดับ ค่ะ |
นางสาว | ประภาพรรณ โอษฐ์ยิ้มพราย | เห็นกิเลสที่ตัวเองเลี้ยงมันมานานที่มันโตแล้วมาทำร้ายเราค่ะ ต้องล้างขจัดมันออกไปจากเราให้ได้ มันทำร้ายทั้งร่างกายและใจเรามานาน กินพลัง และเหนี่ยวนำผู้อื่นให้เป็นตามอีก ต้องจัดการมันออกไปจากชีวิตให้ได้ค่ะ จะพากเพียร สู้กับมันทุกวันๆทุกลมหายใจเข้า-ออก ค่ะ |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | เป็นอย่างที่ท่านอาจารย์สอนจริงๆ ค่ะ ชอบเดา ที่สำคัญเพ่งโทษ คิดว่าเขาไม่ดีอยู่เสมอๆ เอาใหม่ เอาใหม่ คิดใหม่ ปรับใหม่ |
นาง | ภัคภร จันทราสกุล | |
นางสาว | ประภัสสร ชาญชัยชูจิต | สภาวธรรมที่ได้จากการฟังธรรม : คนที่มาทำให้เราไม่สบายใจ ไม่ชอบใจ ไม่ถูกใจ ไม่สบายใจ เป็นคนที่มีค่ากับเราที่สุดในโลก.ไม่มีสิ่งใดเทียมเท่า ใครที่สามารถทำให้เราไม่ชอบใจ ไม่ถูกใจ ไม่สบายใจไม่แช่มชื่นใจได้ นั้นแหละคนที่มีค่าที่สุดต่อเรา /ประโยชน์ที่ได้รับ 1.ทำให้เราได้เห็นทุกข์ 2. เห็นความโง่ของตัวเอง 3. เห็นกิเลสของตัวเอง ทำให้ได้แก้ไข ได้เห็นทุกข์ ได้ได้เห็นความโง่ของตัวเอง มีปัญญาในการกำจัดกิเลส |
นาง | เกษร อินต๊ะปัญญา | การทำงานกับหมู่กลุ่ม จะมีผัสสะมากระทบ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ หมั่นตรวจสอบว่า เรามีไหม ถ้ามีตรวจสอบเมื่อมีผัสสะมากระทบ จึงเกิดเวทนาให้ร่าเริง แจ่มใสได้ทุกสถานการณ์ ไม่ร่าเริง โศกเศร้า ในสถาการณ์ เป็นกิเลส ให้ร่าเริง เบิกบาน แจ่มใส ไร้กังวล ไม่สุข ไม่ทุกข์ หมั่นพิจารณา ซ้ำฯ ตั้งศีลมากำจัดมัน ปฎิบัติอย่างตั้งมั่น กิเลสมันจะสลายไป. |
นาง | เสาวรี หวังอประเสริ | การแพทย์วิถีธรรม ใช้วิธีที่ประหยัดเรียบง่ายพึ่งตนเองได้สามารถแก้ปัญหาได้ดับทุกข์ได้พาสู่ควาพ้นทุกข์ได้ใครได้เรียนการแพทย์วิถีธรรมกับอาจารย์หมอเขียวดร.ใจเพชรกล้าจนหลักสูตร5วันจะพึ่งตนเองได้ทั้งชาติการแพทย์วิถีธรรมแก้ปัญหาได้ทุกปัญหาในโลก รักษาโรคได้ทุกโรคแต่ไม่ทุกคน |
นาง | ธมกร พลสุวรรณ | ความทุกข์ที่เกิดขึ้น ก็เกิดจากความอยากของเราเอง เราต้องพิจารณาให้เห็นโทษด้วยความอยากที่ตัวเราเอง ปัญหาเกิดจากเรา ก็ต้องจบที่เราฝง ม่ |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | เวลามีคนนินทาหรือว่ากล่าว ถ้าเป็นเรื่องจริงก็พิจารณาปรับปรุงตามสมควร แต่ถ้าไม่ตริงก็ให้ถือเป็นโอกาสล้างใจจากผัสสะ |
นางสาว | ปาวิดา ทองธวัฒน์ | สติไม่ใช่แค่การทำให้รู้ตัว แต่ต้องปฎิบัติให้ถึง "การกำจักกิเลสได้" |
นางสาว | ดรุณวรรณ แซ่ห่าน | การอยู่อย่างเพียงพอ การทำกสิกรรมไร้สารพิษ เรียนรู้ พืชผักสมุนไพรอาหารเป็นยา จิตใจที่ผาสุขไม่อยากได้อยากมีในสิ่งที่ไม่ใช่ของเรา สิ่งเดียวที่เป็นของเราอย่างแท้จริงและจะติดตัวเราไปเมื่อต้องจากโลกนี้ไปก็คือคือวิบากกรรมดีวิบากกรรมร้ายเท่านั้นคะ ประโยชน์ที่ได้รับเรามั่นใจเชื่อมั่น ว่าทางนี้ทางเดียวที่จะพาเราพ้นทุกข์และผาสุขที่สุในโลกคะ |
นาย | วรเศรษฐ์ ชาญฤทธิ์นรีกุล | ทำให้เข้าใจธรรมะของพระพุทธเจ้าดีกว่าแต่ก่อนมาก โดยเฉพาะศิล ๕ |
นาย | วรเศรษฐ์ ชาญฤทธิ์นรีกุล | เป็นธรรมที่ให้ดูแลตนเอง"เป็นหมอดูแลตนเอง" |
นางสาว | สัสยา วาทยานนท์ | ต้องคบเคารพมิตรดีฟังบ่อยให้มากที่สุดไม่ว่าจะเป็น หัวข้อใดก็ตาม จะมาแก้ไขในขณะนั้นจริงๆ |
นางสาว | วาทยานนท์ | ต้องพึ่งตนเองให้ได้โดยใช้แพทย์วิถีธรรมยาเม็ด 9 ข้อนี้ |
นาย | เสาวรี หวังประเสริฐ | เข้าใจธรรมะคำตรัสของพระพุทธเจ้าที่เป็นจริงตลอดกาลประโยชน์ที่ได้เกิดพลังที่จะตั้งศีลลดละกิเลสปฏิบัติตนให้มีอธิศีลอธิจิตอธปัญญาตามความรู้ความสามารถจะไม่ปล่อยให้เนิ่นช้า |
นาง | ณัชญ์ชาพัฒ วงศ์วิวิทย์ | เข้าใจวิธีการดับกิเลสเมื่อมีผัสสะมากระทบ ทำให้เห็นกิเลสที่ซ่อนเงียบเอาไว้หลงเข้าใจคิดว่าไม่มี แต่หลายครั้ง ดับกิเลสไม่ได้เพราะยึดมั่นถือมั่นมากในเรื่องนั้นๆค่ะ ประโยชน์ที่ได้คือมีความรู้ความเข้าใจมากขึ้นเรื่อยๆ ค่ะ |
นาง | เพ็ญศรี มงคลชาติไทย | สภาวะที่ได้ คือปฏิบัติแล้วเห็นผลได้จริงคือมีความเบาสบาย |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | ผู้ที่ยังไม่กำจัดการเบียดเบียนสัตว์ได้ไม่เรียกว่าอริยะผู้ที่ไม่เบียดเบียนตนคนอื่นสัตว์อื่นเรียกว่าอริยะ |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | อยู่ป่าอยูดงก็ไม่อดอยาก กลับมีอยู่มีกิน มีแบ่งปัน |
นาง | นางรมิตา ซีบัง้กิด | การทำกสิกรรมไน้สารพิษ ด้วยการใช้วัชพืช ใบไม้ ใบหญ้า มาทำปุ๋ย โดยไม่ใช้ยาฆ่าหญ้า ทุกคนต้องกันมาพึ่งตนเองให้ได้ ทางภูผาฟ้าน้ำได้เตรียม พันธุ์พืช เมล็ดพันธุ์พืชไว้ เพื่อเมื่อภาวะวิกฤติขึ้นมาเมื่อไหร่จะได้พึ่งตนเองได้โดยเฉพาะในเรื่องของปัจจัย4 |
นาง | สุรีนารถ ราชแป้น | โทษของกิเลส ความอยากก็เป็นทุกข์ สมใจอยากลดทุกข์ได้ชั่วคราว สมใจอยากก็สุขแป้บเดียวก็หายไป ไม่เที่ยง อยากได้สิ่งใดไม่ได้สิ่งนั่นเป็นทุกข์ ได้แล้วกลัวหมดไปใจก็เป็นทุกข์ กายก็ไม่สบาย ไม่สดชื่น อยากเพิ่มไปเรื่อยๆ อยากเดิมไม่แก้ไข เพิ่มด้วยความอยากใหม่ก็หลงวนเวียน การมีกิเลสทำให้ปัญญาจะดับ ความถูกผิดจะเสีย ระบบประสาทจะเสีย โครงสร้างจะผิดรูป การฝึกกินข้าววันละมื้อ จะมีระบบประสาทตรวจสอบกิเลสได้ดีมาก ล้างกิเลสได้ดี ไม่หวั่นไหว มีปัญญาตรวจสอบได้ดี กินหลายมื้อประสาทจะเสียมาก มีกามในเรื่องการกินจะทำให้ปัญญาดับ ถ้ากินถูก เจ็บป่วยน้อย ลำบากกายน้อย เบากายเบาใจ เป็นอยู่ผาสุข อะไรถูกกันจะรู้เร็วมาก แต่ถ้าไม่สมดุลให้ตรวจสอบกิเลสอะไรเหลืออยู่ ตรวจสอบสมดุลร้อนเย็น และการประมาณเหตุการณ์หรือการงานที่ไม่เหมาะสม จะส่งผลให้เกิดวิบากร้ายทางจิตใจ จึงต้องทำสับปุริสธรรม7และมหาปเทศ4 |
นาง | สุรีนารถ ราชแป้น | ชีวกสูตรบาปของผู้ที่เจาะจงฆ่าสัตว์ เนื้อที่รังเกียจ ไม่ควรบริโภคหมอชีวกโกมารภัจจ์ ได้ถามพระสมณโคดม เรื่อง เนื้อสัตว์ที่ควรฉัน ไม่ควรฉัน อย่างไร พระองค์ตอบว่า เนื้อที่เจตนาฆ่าเจาะจงฆ่า เนื้อที่ตนเห็น เนื้อที่ตนได้ยิน เนื้อที่คนรังเกียจ กินไม่ได้ เป็นบาป คนที่หยุดกินเนื้อสัตว์ สุขภาพจะดีขึ้น ลดทุกข์ได้ตามลำดับ คนที่ยังกินเนื้อสัตว์ จะป่วยเป็นโรคร้าย คนมีปัญญาจึงไม่กินเนื้อสัตว์แล้ว |
นาง | สุรีนารถ ราชแป้น | ทำให้เพิ่มอธิศีลไปเรื่อยๆเพื่อที่จะเกิดปัญผญาในการฆ่ากิเลส |
นาง | วันเพ็ญ ตั้งสกุลวงศ์ | ยินดีให้ได้ทุกสถานการณ์ แม้ทุกข์ก็หาสุขได้ ใจเบาสบาย ทุกข์น้อยลง |
นางสาว | อมรา อ่อนทรัพย์ | การทำงานร่วมกับหมู่จะเช็กวิมุติได้ดีที่สุดจะชอบใจหรือไม่ชอบก็ไม่ทุกข์จะรู้ว่ามีผัสสะมากระแทกเห็นอาการนี้ไม่น่าเก็บไว้เอาประโยชน์ให้ได้จะได้ไม่ทุกข์สมใจก็ไม่ทุกข์ไไม่สมใจก็ไม่ทุกข์ไม่สมใจอยากก็ไม่ทุกข์เอาประโยชน์ให้ได้ทุกเรื่องและทุกมิติ |
นางสาว | สุภารัตน์ จันโดน | คนชนะกิเลสด้วยปัญญา นั้นคือการชนะทุกข์ เพราะกิเลสคือตัวทุกข์คือตัวโง่ เรายังมีกิเลสอยู่ทำให้ปัญญาดับ ปัญญาเกิดเพราะมีศีล เราตั้งศีลมาปฎิบัติล้างกิเลสทีละตัวๆปัญญาก็เพิ่มขึ้น ทุกข์เราก็ลดลง |
นางสาว | ตรีทิพย์นิภา ไทยรักษา | ความใจเย็นเพิ่มมากขึ้น |
นางสาว | อุษา บุตรพรม | ใจเย็นเบาสบง ขึ้น เข้าใจตัวเองและคนอื่น มากขึ้น ค่ะ |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | เมื่อ กำจัดกิเลสได้ใจก็จะเป็นสุขกายก็จะแข็งแรงเกิดเหตุการณ์ดีๆ |
นาย | สุนทร คำเหลือง | ได้คลายความไม่ยืดติด ที่ไม่ได้ดังใจไปบ้าง |
นางสาว | กมลชนก ทุมวงษ์ | ได้พิจารณาถึงประโยชน์และโทษของอาหารที่เป็นพิษ และอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ ว่าสิ่งใดควรกินหรือไม่ควรกินณ เวลานั้นๆ หยุดอยาก ไม่ต้องเสียเวลา ไม่ทุกข์ ผาสุกยั่งยืน |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | สรุปสภาวธรรมถ้าปฏิบัติถูกศีลใจจะเป็นสุขกาย เปลี่ยนมาปฏิบัติให้ถูกศีล สิ่งดีๆทั้งหลายทั้งปวงก็จะเกิดขึ้น จะแข็งแรงเรื่องดีจะเพิ่มขึ้น ถ้าปฏิบัติผิดศีลใจจะเป็นทุกข์กายก็เจ็บป่วยเกิดสิ่งร้ายๆขึ้นประโยชน์ที่ได้รับ เราก็จะไม่ ปฏิบัติผิดศีล |
นางสาว | ประภาพรรณ โอษฐ์ยิ้มพราย | ดูอาการที่เกิดขึ้นในจิตเรา เป็นอะไร แล้วจับอาการที่เกิดขึ้น จับประเด็นให้แม่นแล้วตั้งมั่นกำจัดกิเลสจนหมดด้วยอธิศีล อธิจิต อธิปัญญา นี้คือ สติ ของพุทธะ ประโยชน์ที่ได้รับ ได้ชำระกิเลสที่มันทำร้ายเรา ทำให้เราเกิดความร้อนในร่างกายเรา ทำให้เราป่วย เมื่อเรารู้อาการนี้แล้ว จัดการกำจัดมันออกไปซะด้วยการตั้งศีล ด้วยการลดกิเลสให้มากๆ สู้กับมันไปด้วยปัญญา เรานี่ล่ะ จนมันหมดไปโดยไม่เร่งผล |
นางสาว | เอ็นดู พูลสวัสดิ์ | อยากได้มากๆทำได้ทุกเรื่องสร้างทุกข์ให้ตัวเองตลอดเวลา |
นางสาว | อมรา อ่อนทรัพย์ | โทษคนอื่นเห็นได้ง่ายโทษตนเองเห็นได้ยากกิเลสหรือวิบากของตนเองซ้อนไว้ |
นางสาว | เอ็นดู พูลสวัสดิ์ | ธรรมใดๆไม่มีทำสัตว์ให้เนิ่นช้าอยู่ |
นาย | วรเศรษฐ์ ชาญฤทธิ์นรีกุล | การใช้ชีวิตพอเพียงเรียบง่ายกสิกรรมไร้สารพิษ |
นาง | หน่อย นกจันทร์ | |
นางสาว | รสริน สังข์เกื้อ | ฟังแล้วสบายใจ มีความสุขในการฟังธรรมะอาจารย์ รู้สึกดีอาจารย์เปรียบเสมือนพระโพธิสัตย์ที่คอยคุ้มครอง ลูกศิษย์ตลอดขอบคุณค่ะ |
นาง | พิกุล วันจันทร์ | |
นาง | ชวนพิศ แก้วประดิษฐ | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | เคยมีเงินและโง่ ซื้อเสื้อในยี่ห้อและราคาแพงๆมาใส่ ปัจจุบันไม่ใส่เลย สบายกว่าค่ะ |
นาง | เฟื่องฟ้า นภาคะเวช | |
นางสาว | คูณทิพย์ วงษ์สุวรรณ | |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | ได้หันกลับมานึกถึงสิ่งที่เราจะตั้งศีล ควรแยกย่อยเป็นเรื่องๆทำทีละนิด |
นาง | สุรีนารถ ราชแป้น | สภาวะธรรมทีได้คือ ทำให้ กล้ารับ ยินดีรับ วิบากร้าย รับเท่าไหร่หมดเท่านั้น ทำดีเท่าที่ทำได้ คิด ทำ แต่เรื่องที่หายทุกข์ แม้การเจ็บป่วยจะไม่หายก็ตาม |
นาย | วรเศรษฐ์ ชาญฤทธิ์นรีกุล | ทำให้เข้าใจในหลักธรรมที่อาจารย์หมอเขียวสอนมาก |
นาง | วันเพ็ญ ตั้งสกุลวงศ์ | ก่อนที่จะไปคิดไปพูดไปทำอะไรต้องทำจิตใจให้ผ่องใสให้ได้ก่อน หรือกำจัดกิเลสให้ได้ก่อนค่อยได้ |
นาง | สุภัค กิมใช่ย้ง | อ.จารย์สอนเรื่องการอยู่ให้รอดในยุคนี้ ต้องมีอริยศีลและ ใช้ชีวิตแบบพอเพียง มีอาหารมีที่อยู่อาศัย มีเครื่องนุ่งห่ม มียารักษาโรค และไม่ดป็นหนี้ เราก็อยู่รอด และควรทำกากรรมไร้สาพิษ สร้างแห่งอาหารให้ตนเองได้เป็นดีที่สุด |
นางสาว | ณฐิตา อินชัยยงค์ | เห็นโทษทุกข์ของความชอบชัง เวลาเผลอพลาดไม่ทันถูกกิเลสหลอก จะกลับมาทบทวนที่ความชอบชัง ว่าอยากได้อะไร ชอบอะไร |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นาย | วรเศรษฐ์ ชาญฤทธิ์นรีกุล | ทำให้เข้าใจในการตั้งอริศีล และมีความรู้สึกง่ายในการปฏิบัติ |
นางสาว | ปาวิดา ทองธวัฒน์ | |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | ควรหมั่นจับกิเลสที่เกิดขึ้นในจิตและใช้ปัญญาพิจารณาโทษทุกขข์เพื่อคลายกิเลส |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นาง | ณัชญ์ชาพัฒ วงศ์วิวิทย์ | จงพิจารณาโทษของกิเลส ถามว่าทำยังไง แยกเป็น2 อย่าง แบบสัมมาฐะ หรือแบบวิปัสสนา วิบากต้องรับ พุทธะจึงเกิด ฝึกคิดให้หายทุกข์ ยินดีให้ได้ทุกเรื่อง ไม่ต้องอยากได้สุขสมใจอยาก ไม่อยากได้ทุกข์ที่ไม่ได้สมใจอยาก อย่ากลัวสิ่งที่มากระทบ เวลาไม่มีกิเลส คิดอย่างไร คิดแบบกิเลสเป็นโทษเป็นทุกข์ คิดแบบพุทธะดีกว่า |
นางสาว | สมทรง าแสงทอง | ผู้ที่ลด ละ เลิก กิเลสได้ คือผู้ที่มีปัญญามากเป็นผู้ไม่มีห่วงใยเป็นความคิดของผู้ไม่มีกิเลส |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | รับเรื่องร้าย รับน้อยหมดน้อย รับมากหมดมาก |
นางสาว | เอ็นดู พูลสวัสดิ? | ถ้าไม่ฆ่ากิเลส กิเลสจะฆ่าเรา |
นางสาว | เอ็นดู พูลสวัสดิ์ | วิปัสนาคือความรู้แจ้งเห็นจริงตามความเป็นจริงเรียนรู้โทษของกิเลสเรียนรู้ประโยชน์ของการไม่มีกิเลส |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | ถ้าเราสามารถควบคุมทวารทั้ง6 คื ไม่ให้ไปทำในสิ่งที่ชั่ว ให้มาทำในสิ่งที่ดีที่เป็นประโยชน์ เราก็ย่อมพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้ อตาหูจมูกลิ้นกายใจ |
นางสาว | พริมรัศมิ์ จิวเลิศเลขา | ปริสุทธา (จิตบริสุทธิหมดจด) หมดจดจากกิเลส ยินดีในความไม่ชอบไม่ชังได้ ปริโยทาตา (จิตสะอาดผุดผ่อง) กิเลสกระแทกแต่จิตยังสะอาดบริสุทธิ์ผุดผ่อง กระแทกอย่างไรก็ไม่เกิดผลอันใด มุทุ (จิตแววไว หัวอ่อนดัดง่าย) จิตเข้าสู่สภาพพ้นทุกข์ จิตเบิกบานผาสุกได้เร็ว กัมมัญญา (จิตควรแก่การงาน) จิตไร้ทุกข์ สามารถประมาณการกระทำได้อย่างพอเหมาะ ประกอบไปด้วยปัญญา ปภัสสรา (จิตผ่องใสแวววาว) จิตงดงามดีงาม ปล่อยวางไม่ยึดมั่นถือมั่นตามวิบากดีร้าย |
นางสาว | ประทุมทิพย์ ไชยชืตร | อยากได้สิ่งใดไม่สิ่งนั้นก็เป็นทุกข์ อยากได้อะไร จับให้ได้ หาเหตุแห่งทุกข์ใ้ห้ก็เจอ อยากได้แล้วเป็นทุกข์ ก็ให้เลิกอยาก ไม่อยากได้ก็จะไม่ทุกข์ อ่านอาการในใจให้ออกแล้วกำจัดให้หมดไป พิจารณาถึงประโยชน์และโทษของความอยากด้วยปัญญา |
นาง | วันเพ็ญ ตั้งสกุลวงศ์ | กล้าทำในสิ่งที่ดี กลัวละอายที่จะทำชั่ว จะพ้นทุกข์ ประโยชน์คือจะทำใจใจเราสงบสุข ไม่ต้องเดือดร้อนใจหลัง |
นาง | กาญจนา คงภูชงค์ | ท่านอาจารย์สอนให้เรายอมรับวิบากดีร้ายให้ได้ แม้จะเกิดสิ่งเลวร้ายกับเรา นั้นเพราะบุญกุศลที่เราทำมา รับแล้วก็จะหมดไป ไม่เพ่งโทษใคร ไม่ถือสา ไม่อยากได้ในสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ ทำเต็มที่สุขเต็มที่ทุกวัน ใจไร้ทุกข์เท่านั้นที่จะนำความผาสุกมาสู่เรา กราบคารวะท่านอาจารย์ด้วยความเคารพยิ่ง สาธุ |
นาง | รมิตา ซีบังเกิด | ในช่วงที่ติดโควิดอยู่ได้สำนึกในวิบากกรรมที่ทำมา จากอดีตและปัจจุบัน ได้รับวิบากด้วยการติดโควิดซึ่งเป็นวิบากที่เลี่ยงไม่ได้ที่ต้องมาเจ็บป่วย เกิดจากความประมาท แต่ไม่ได้ไปแสวงหาแต่วิบากมาหาถึงบ้านจึงติดเชื้อจากการกระทำของผู้อื่น ยินดีรับวิบากเพื่อให้หมดไปด้วยใจเป็นสุข |
นางสาว | ปัทมา ลีฬหาวงศ์ | ไมมีประโยชน์อะไรที่จะเก็บความทุกข์ ความเศร้าความพลาดมาทับทมตัวเองมันทึกข์ไปแล้วพลาดไปแล้วเศร้าไปแล้วก็หมดไปแล้วจงใช้ชีวตในปั |
นาง | พิกุล วันจันทร์ | |
นางสาว | ตรีทิพย์นิภา ไทยรักษา | ทุกวันทุกข้อ |
นาง | นปภา รัตนวงศา | เรื่องใดแก้ไม่ได้ เรื่องนั้นไม่สำคัญ อย่าคิดให้ใจเป็นทุกข์ พุทธะคิดให้ใจหายทุกข์ในทุกเงื่อนไขกิเลสเป็นแขกจร กำจัดมันได้ มารสังยุตโดยอาศัยผัสสะมากระทบค้องร่าเริงแกล้วกล้าอาจหาญกลับไปบีบหัวมารได้หักเหลี่ยมมารแกทำให้ข้าทุกข์ได้มาเลยมาเลยทุกข์มาเลยจะได้รู้ว่าคิดมุมไหนมันมาแล้วมาให้เหมาะกับคนคนนั้นอย่าหนีเอาปัญญาบีบหัวกิเลสทุกข์เท่าไหร่ยิ่งดีสิ่งไม่ควรย่อมเกิดในโลกพตฎ25/32บุคคลผู้กล่าวคำไม่จริงย่อมเข้าถึงนรกเช่นเดียวกันคนเป็นอันมากผู้กาสวะพันคอแล้วมีธรรมอันลามกไม่สำรวมเป็นคนชั่วช้าย่อมเข้าถึงนรกเพราะกรรมอันลามกทั้งหลายกินก้อนเหล็กแดงยังจะดีกว่าบริโภคก้อนข้าวของชาวบ้านเป็นชู้ภริยาผู้อื่นย่อม4ฐานะ1.ไม่ใช่บุญ2.ไม่ได้นอนตามความใคร่3.นินทา4.นรกจับได้แล้วเธอคิดแบบนั้นทุกข์คิดใหม่แบบนี้ถ้าจะทำพึงทำกิจนั้นจริงๆพึงบากบั่นให้มั่นความชั่วไม่ทำเสียดีกว่าเพราะความชั่วทำให้เดือดร้อนในภายหลังขณะอย่าล่วงท่านไปเสียเพราะว่าผู้ที่ล่วงขณะเสียแล้วเป็นผู้ยัดเยียดอยู่ในนรกไม่ได้ปล่อยให้เวลาผ่านไปเฉยๆแต่ไปพอกกิเลส |
นางสาว | ประภาพรรณ โอษฐ์ยิ้มพราย | ไม่มีอะไรที่เราได้รับโดยไม่ได้ทำมา เรานี่ล่ะทำมาทั้งนั้น ยอมรับวิบาก ด้วยใจที่เป็นสุขให้ได้ เราก็จะไม่ทุกข์ |
นางสาว | ประภัสสร ชาญชัยชูจิต | ประโยชน์ที่ได้รับจากการฟังธรรม เพราะเข้าใจเรื่องกรรมอย่างแจ่มแจ้ง คนที่ไม่ถูกนินทาไม่มีในโลก ใช้ชีวิตในปัจจุบันให้มีคุณค่าสูงสุดต่อตนเองและผู้อื่นด้วยการพึ่งตน และช่วยคนให้พ้นทุกข์ |
นางสาว | สิริรัตน์ ก้าวหน้าวาณิช | ทุกอย่างในโลกนี้มีเกิดขึ้นและก็ดับไปไม่มีอะไรอยู่ยาวนาน สุขก็สุขไม่นาน ทุกข์ก็ทุกข์ไม่นาน |
นางสาว | กมลชนก ทุมวงษ์ | เรื่องความอยากคือทุกข์ ตอนนี้ลดความอยากในการที่จะไปตลาดซื้อของมาเก็บไว้ที่บ้านให้มากที่สุดเพราะเมื่อไปแล้วเห็นอะไรก็อยากซื้อไปหมด เมื่อซื้อมาแล้วก็ไม่ได้ใช้สิ้นเปลืองทั้งเงินเวลาและก็ไม่ได้ใช้ให้เกิดประโยชน์ตอนนี้ต้องมาล้างความอยากได้ และนำสิ่งที่ไม่จำเป็นออกให้มากที่สุด |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | สรุปสภาวะธรรม เราควรจะกล่าวคำที่เป็นจริงที่เป็นประโยชน์ ประโยชน์ที่ได้รับ เมื่อกล่าวคำที่เป็นจริงใจก็จะเป็นสุข กายก็จะแข็งแรง จะเกิดแต่เหตุการณ์ดีๆ |
นาย | วรเศรษฐ์ ชาญฤทธิ์นรีกุล | ทำให้เข้าใจในหลักธรรมคำสอนของพระพุทธองค์และแนวทางการปฏิบัติมากขึ้นทำให้สามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้องและง่าย |
นางสาว | อมรา อ่อนทรัพย์ | ผู้ที่มีวิจิกิจฉามีความลังเลสงสัยว่าพุทธะมีจริงหรือไม่ผู้เสพกิเลสที่อมความทุกข์มีปัญหาไม่กล้าเล่าความทุกข์ความไม่สบายใจสารพัดปัญหาของตัวเองให้ผู้อื่นฟังจนกว่าจะมีปัญญาพบและเข้าหาหมู่มิตรดีเข้าหาสัตบุรุษช่วยแก้ปัญหาก็สามารถพ้นทุกข์ได้ |
นาง | จำปา ลัคณาสถิตย์ | ถ้าไม่ได้เจออาจารย์หมอเขียว คงโง่แบบพิเศษไปอีกนานๆ คนเราเกิดมาต้องรับวิบากกรรม กิเลสเราก็ต้องล้าง เราจะตั้งใจทำตามที่อาจารย์ได้สั่งสอน ชีวิตคนเราไม่น่าจะต้องทุกข์อะไร ถ้าเข้าถึงความจริงแท้ในชีวิต |
นางสาว | อมรา อ่อนทรัพย์ | การปฎิบัติแบบสมถะระงับทุกข์ได้ชั่วคราวคิดอะไรก็ไม่เก็ดประโยชน์อะไรมากระทบให้ไม่สบายใจวนเวียนได้ระงับชั่วคราวทุกข์ก็ไม่หมดสิ้นเกลี้ยง แต่การปฎิบัติแบบวิปัสนาของพุทธะที่รู้โทษภัยว่าเมื่อมีกิเลสเกิดขึ้นจะเกิดทุกข์และรู้ชัดเรื่องกรรมอย่างแจ่มแจ้งพิจารณาเรื่อยๆคิดดีพูดดีทำดีจะมีกุศลลดความทุกข์หรือลดลงได้ |
นาย | นายคมเวช หงส์เชิดชัย | เมื่อได้ฟังท่านอาจารย์ปรรยายธรรมได้เกิดปัญญาพาพ้นทุกข์จากการเพ้งโทษผู้อื่น |
นางสาว | น ส วิภาวัลย์ ถนัดธรรมกุล | เมื่อไอ้ฟังธรรมท่านอาจารย์แล้วได้เปลี่ยนความคิดที่เพ่งโทษผู้อื่นและหันมาดูที่ตัวเรา แก้ที่ตัวเรา โทษตัวเราก่อน |
นางสาว | นวลนภา ยุคันตพรพงษ์ | ดีไหนทำได้ก็ทำที่ไหนทำไม่ได้ก็วาง เพราะความอยากก็เป็นทุกข์ แล้วมีวิบากร้ายเข้ามาก็ต้องกล้ารับก็ให้หมดไปดีรับก็รับก็สุขสบายใจไร้กังวลจนประโยชน์ที่ที่ได้รับทำให้อดทนไม่คิดพูดกระทำที่เป็นไปตามอำนาจของกิเลสเกิดความผาสุกผ่องใสสุขสบายใจไร้กังวลได้กับทุกขณะปัจจุบันเก็บประโยชน์ตนประโยชน์ได้ทุกสถานการณ์ |
นาง | สุมา ไชยช่วย | ถ้าเลี้ยงงูใหญไว้ในใจเราๆก็จะทุกข์แสนสาหัส ให้กำจัดงูใหญ่คือกิเบสตัวนี้ออกเสีย |
นาง | อนงค์ท่าข้าม | ได้ความรู้เพิ่มทุกๆๆครั่งที่ได้ฟังธรรมะจากท่านอาจารย์ |
นาง | สุมา ไชยช้วย | คลายทุกข์ลงได้ เพราะสิ่งร้ายที่ได้รับ รับมากหมดมาก รับน้อยหมดน้อย รับเท่าไรหมดเท่านั้นหมดน้อย รับเท่าไรหมดเท่านั้นมดมาก รับน้อย |
นางสาว | ปาวิดา ทองธวัฒน์ | หากมีคนว่ากล่าวติเตียนเราในสิ่งที่ถูกต้องให้เราแก้ไข แต่หากติเตียนในสิ่งผิดให้เอามาล้างใจ |
นางสาว | รสริน สังข์เกื้อ | สุขภาพดีมากเลยค่ะ |
นาง | วันเพ็ญ ตั้งสกุลวงศ์ | ได้ฟังท่านอาจารย์บรรยายเกี่ยวกับบุพกรรมของพระพุทธเจ้า แล้ว ให้สำนึกถึงตัวเองอกุศลที่เราได้ทำมา จึงต้องเร่งทำบุญและกุศลให้ยิ่งๆขึ้นไป |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | เห็นด้อย่างยิ่ง เนื่องจากการทำงานท่ามกลางรนที่ไม่ละกิเลส มีการเอารดเอาเปรียบ เห็นแก่ตัวนั้น ค่อนช้างบั่นทอนกำลังใจในการทำงาน และพลอยทำให้ความตั้งใจดีถดถอย ต้องใช้กำลังใจอย่างมากในการยืนหยัดและใช้สติทำให้ดีที่สุด |
นาง | สุมา ไชยช่วย | ใจโล่งโปร่งสบาย |
นาง | สุมา ไชยช่วย | วางใจ ไม่อยากได้บางเรื่องมากขึ้น |
นาง | นฤมลแป้นคุ้มญาติ | ได้เอามาใช้ในชีวิตประจำวันทุกครั้งที่มีปัญหาในการดำเนินชีวิตก็เอาธรรมที่อาจารย์สอนมาแก้ไขก็สุขใจ |
นาย | วรเศรษฐ์ ชาญฤทธิ์นรีกุล | ได้เข้าใจแนวทางวางขันธ์เมื่อถึงเวลา |
นาง | สุมา ไชยช่วย | มีกิเลสต้องรีบกำจัดออกให้เร็วที่สุด |
นาง | สุมา ไชยช่วย | การปฏิบัติธรรมต้องมีผัสสะมากระทบถึงได้ล้างใขล้างทุกข์ |
นาง | พรทิพย์ ไทยเอียด | ทุกข์เหมือนหมาขี้เรื้อนไม่ว่าเปลี่ยนไปอยู่ยังที่ไหนๆ อาการคันก็ไม่ได้หมดไป เพราะขี้กลากหรือกิเลสมันติดอยู่กับใจเรา ถ้าเราไม่ล้าง อาการคัน อาการทุกข์ก็ย่อมไม่หาย และการจะล้างได้ก็ต้องใช้ความเพียรและต้องมีปัญญาต้องรู้อุบายเครื่องออกถึงจะพาตนเองออกจากกิเลสกองทุกข์ได้้ และการรบกับกิเลสก็ให้รบกับกิเลสตัวน้อยๆก่อน อย่าเพิ่งออกรบกับกิเลสตัวโตที่มันจะกินพลังเรามาก โอกาสพ่ายแพ้มีเยอะ ให้ค่อยๆเก็บสะสมชัยชนะไปทีละน้อย การสู้กับกิเลสมาก ถ้าเราไม่สู้หรือสู้มันไม่ได้ เราก็ตกเป็นทาสมันรำ่ไปป็น |
นางสาว | ปาวิดา ทองธวัฒน์ | ฟังธรรมะจากท่านอาจารย์วันนี้แล้วกล้าสู้กิเลสมากขึ้น ไม่ยอมทำตามผีห่าซาตานที่หลอกให้เราหลงว่าเป็นสมมุติเทพ |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | ชีวิตเป็นสิ่งไม่แน่นอน ควรพยายามชำระกิเลส เริ่มจากง่ายๆ พยายามทำให้ได้เป็นลำดับๆ แต่ต้องมีความพยายามด้วย |
นางสาว | วันเพ็ญ ตั้งสกุลวงศ์ | เจ็บแล้วจบ ไม่เจ็บแต่ไม่จบ ได้รู้ว่าการกำจัดกิเลสต้องต่อสู้ กับกิเลสถึงจะเจ็บก็จะอดทน |
นางสาว | ประภาพรรณ โอษฐ์ยิ้มพราย | พลังความดีจะนำวิบากดีมาให้ หากทำความชั่ว วิบากร้ายก็จะเข้ามาในชีวิต ประโยชน์ที่ได้รับคิดที่จะทำในสิ่งที่ดีเพราะเรานั้นทำดีทำชั่วมามากมายหาที่ต้นที่สุดไม่ได้ แม้ชาตินี้ไม่ทำชั่ว ทำแต่ดี ก็อาจมีวิบากร้ายเข้ามาในเราได้เมื่อไหร่เราก็ไม่รู้ ดังนั้นเราอย่าทำชั่วทำไม่ดีเลย ทำแต่ความดีเถิดเพราะความดีที่ทำเสมอๆนั้นอาจจะดันวิบากร้ายที่เกิดขึ้นกับเรานั้นออกไปจากเราได้หรือจากร้ายๆหนักๆให้ลดลงได้ |
นาง | พรทิพย์ ไทยเอียด | วิธีการทำให้ไม่เป็นหนี้ หรือถ้าเป็นหนี้แล้ว ก็ให้ใช้วิธีการลดกิเลส กินน้อยใช้น้อย ใช้แต่สิ่งจำเป็น ไม่จำเป็นไม่ใช้แบบมีปัญญา รู้ถึงสาระประโยชน์ในข้าวของ สิ่งขอที่กินใช้ เน้นได้ประโยชน์สูงแต่ประหยัดสุดสูงง |
นาง | สุมา ไชยช่วย | ก็ได้มาตั้งศีลระหว่างที่เห็นของที่อยากกินตอนนั้นเลย ก็พยายามปฏิบัติชนะบ้างแพ้บ้าง ก็ดีไม่ได้ตั้งศีลเลย |
นางสาว | อุษา บุตรพรม | จับกิเลสได้เร็ว มีความสุขไดัเร็วขึ้น สาธุ ค่ะ |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | ปฏิบัติศีล ไม่ใช่ปฏิบัติแต่กาย แค่ถึงกายไม่ใช่ศีลปฏิบัติศีลต้องให้ถึงใจจึงจะเรัยกว่าปฏิบัติศีล |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | คนมีศีลแม้ตายก็สู้สุขติโลกสู่สววรค์จนได้แม้จะกระเดฌนกระดอนไปบ้างแม้ถึงเวลาก็รวมมาสู่สวรรค์ด้วยกัน |
นางสาว | ปัทมา ลีฬหาวงศ์ | ตายแน่ๆถ้าไม่ลดกิเลสไว้ มันคือสัจจะมันคือความจริงการใช้ชีวิตในสังคมเมืองยิ่งต้องลดกิเลสให้มากเพราะมีสิ่งที่เป็นมารมาคอยล่อหลอกกิเลสเราอยู่ตลอดเวลาโชคดีที่เรามีศีลคอยคุ้มครองตนเองทำให้จิตไม่วิ่งตามกิเลสไม่ว่ารัก โลภ โกรธ หลง รู้แค่ว่าปัจุบันเรากำลังทำหน้าที่อะไรอะไรคือทุกข์อะไรคือสุข |
นางสาว | อมรา อ่อนทรัพย์ | ผู้มีสัทธาตั้งมั่นความเชื่อมั่นเชื่อฟังในคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าพระโพธิ์สัตย์และสาวกของท่านความสัทธาเกิดขึ้นอย่างมีปัญญาเป็นทางเอกสายเดียวแห่งความหลุดพ้นจากชั่วจากทึกข์ทั้วหมดทั้งมวลในความเป็นกลางอันประเสริฐิในมรรคมีองค์๘ ความเห็นที่ถูกตรง 3ความดำริชอบ 3การพูดชอบ การกระทำชอบ 5การเลี้ยงชีพชอบ 6เพียรชอบ 7มีความระลึกตัวเพียบพร้อม 8การเดินทางที่ถูกตรงในอาริยะมรรคทั้ง๗อย่างตั้งมั่ในความหลุดพ้นแห่งความพ้นทุกข์ |
นาง | สุมา ไชยช่วย | ค่อยๆกำจัดกิเลสๆไปเรื่อยๆ เวลาเกิดวิบากร้ายจะได้ไม่ทุกข์หนักเพราะเตรียมตัวไว้แล้วะได้ไ |
นาง | อรทัย สุทธิเสน | ความทุกข์ที่ทุกข์ที่สุด คือ ใจ การจะดับทุกข์คือ ดับทุกข์ใจและแก้ปัญหา |
นาง | รมิตา ซีบังเกิด | "สิ่งที่มีค่าที่สุดในชีวิตคือศีลและปัญญา" ศีลและปัญญาในการชำระกิเลส ศีลที่บริสุทธุ์จะส่งเสริมปัญญา ศีลมีในบุคคลใดปัญญาก็มีในบุคคลนั้น เมื่อเห็นทุกข์ที่มีอยู่ในกิเลสก็พยายามชำระให้หมดไปใจก็ไร้ทุกข์ทำให้ร่างกายก็แข็งแรงขึ้นเป็นลำดับๆ ถ้าทำตามกิเลสจะมีเรื่องร้ายเข้ามาสู่ชีวิต ถ้าปฎิบัติศีลเรื่องร้ายต่างๆก็จะลดลงได้เร็ว |
นางสาว | อมรา อ่อนทรัพย์ | การลดกิเลสนิดหน่อยมีค่ามหาศาลกิเลสจะมีกำลังที่จะควบคุมความคิดความกยากเสพถ้าสลายเพืมอริยะศิลให้มากๆขึ้นกิเลสจะสลายเปลื่อยำปเป็นพุทธะในการลคกิเลสเหตุแห่งทุกข์ทั้งหมดทั้งมวล |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | ตรีทิพย์นิภา ไทยรักษา | |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | ปฏิบัติศีลจะทำให้เกิดปัญญา รู้ว่าถ้าทำดีก็จะเกิดผลดี ถ้าทำผิดศีลจะทำให้เกิดผลร้าย ประโยชน์ที่ได้รับ เราก็จะพยายามทำแต่สิ่งที่ดี เพื่อจะให้เกิดวิบากดีต่อไปทั้งในชาตินี้และชาติหน้า |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | เราต้องคลายจากราคะ ชอบชัง สุขทุกข์ ประโยชน์ที่เราได้รับ อะไรจะเกิดจะดับเราก็ไม่ทุกข์สุขสบายใจไร้กังวลเพราะเราไม่ชอบไม่ชัง |
นาย | สุนทร คำเหลือง | มีความยินดีกับคำสอนอาจารย์หมอที่บางยายเรื่องการให้ด้วยความยินดีที่ไม่หวังตอบแทน |
นาง | สุรีนารถ ราชแป้น | การที่แก้ปัญหาทุกข์ ทางใจ และทางกาย นั้น ให้จัดการทุกข์ทางใจก่อน ด้วยการใช้ทุกข์อริยสัจ และการได้เพิ่มศีล สมาธิ ปัญญา ด้วยจิต ตั้งมั่น จะสามารถ กำจัด ล้างกิเลส ได้ทั้งขั้นหยาบ ขั้นกลาง ขั้นละเอียด จนไม่มีสุข ไม่ทุกข์ ได้รับประโยชน์ในขั้นปฏิบัติมากขึ้น |
นาง | สำรวม แก้วแกมจันทร์ | การปฏิบัติอริยสัจ รักษาโรค ใจไร้ที่ทุกข์ ใจทีดีงาม มีฤทธิ์แรงและรักษาโรคให้หายเร็ว พึ่งตนเองได้ แล้วแบ่งปันช่วยเหลือกัน สุขภาพดี ร่างกายแข็งแรง เศรษฐกิจดี สังคม สิ่งแวดล้อมดี |
นางสาว | รสริน สังข์เกื้อ | สุขภาพดีขึ้น เบาตัวสบายตัว ฟังแล้วหายเครียด หายกังวล รู้จักแด้ไขปัญหาตัวได้ดีขี้น |
นาง | ชวนพิศ แก้วประดิษฐ | ทำเปลียนชีวิต ความคิดเปลียน เป็นคนใจเย็น รู้จักกิเลสมากขึ้นค่ะ ประโยชน์ที่ได้รับคือมีความคิดดีๆ ได้แก้ปัญหาดับทุกข์ทางกาย และทางใจเกี่ยวกับชีวิตคู่ และพึ่งตนค่ะ |
นางสาว | กมลชนก ทุมวงษ์ | ตั้งศีลและพากเพียรที่จะปฏิบัติให้ได้มากที่สุด ประโยชน์ที่ได้รับ ศีลก็จะคุ้มครองและทำให้มีความสุข |
นางสาว | วิภาวัลย์ ถนัดธรรมกุล | รางเนี้อชอบรางยา อะไรที่สบายจะทำให้หายโรคได้ ทำให้ดูแลสุขภาพเราและผู้อื่นได้ด้วย ณ เวลานั้น อันไหนไท่สบายแสดงว่าไม่ถูกกัน ณ เวลานั้นเอาความจริง ณ ปัจจุบัน พทจ ตรัสสภาพร่างกายไม่มีอะไรเท่ากันนอกจากจิตที่ไร้ทุกข์ที่เท่ากัน |
นางสาว | ดรุณวรรณ แซ่ห่าน | สรุปสภาวะธรรมที่ได้รับจากการฟังธรรม เราจะได้รับความคิดใหม่ๆได้ข้อมูลข่าวสารความรู้รอบตัวเสมอ ได้ดูจิตใจของเราว่าพัฒนาขึ้นหรือเสื่อมลง เราจะกลัวต่อการทำบาปเขื่อถึงการกระทำวิบากกรรมร้ายเราจะได้รับสิ่งร้ายๆเข้ามาในชีวิตเรา เราทำวิบากกรรมดี เราจะได้รับสิ่งดีๆเข้ามาหาเราจะทำให้เราฉลาดหลักแหลมขึ้น อย่างน่ามหัศจรรย์ ประโยชน์ที่ได้รับ เราได้นำความเจริญในจิตใจของเราและความรู้ที่ได้รับจากการฟังธรรมฝึกฝนตัวเองให้เจริญขึ้นและช่วยเหลือผู้ศรัทธาคะ |
นาง | เครือแก้วคุณะวัฒนา | เข้าใจชีวิต ทุกข์และสุข เดี๋ยวมาเดี๋ยวไป ไม่ยั่งยืน สิ่งที่ยั่งยืนคือ ใจไร้ทุกข์ ทำให้ได้ |
นาง | สายพิมพ์ ลิ้มไพบูลย์ | ทำให้ได้รู้ความหมายของวิราคะ คือสภาพธรรมที่ปราศจากราคะ สำรอก คลายจากราคะ สละไม่ยึดมั่นถือมั่นปราศจากกิเลสทั้งปวงหรือเป็นสภาวะธรรมที่นำสู่พระนิพพานนั่นเอง เพราะสภาพธรรมที่เป็นวิราคะธรรม คือธรรมอันย่ำยีความเมา กำจัดความกระหาย ถอนเสียซึ่งอาลัย เข้าไปตัดวัฏฏะเป็นที่สิ้นตัณหา เป็นที่คลายกำหนัดเป็นที่ดับไปของกิเลสนั่นคือสภาวะนิพพาน |
นางสาว | ภนิดา ปิ่นมณี | ตัดกิเลสได้มากขึ้นตามลำดับๆ |
นางสาว | ประภัสสร ชาญชัยชูจิต | การฟังธรรมบ่อย ๆ ทำให้เกิดความเจริญ ประโยชน์ที่ได้รับ จิตใจเบิกบาน ลดอัตตา ความยึดมั่นถือมั่น |
นาย | คมเวช หงส์เชิดชัย | ตามที่พระพุทธเจ้าทรงสอนเมื่อเข้าใจแล้ว ธรรมย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่เกิดปราโมทย์แล้ว ย่อมเกิดปิติ เมื่อเกืดปิติกายย่อมสงบอาการป่วยกายใจย่อมสงบระงับลง |
นางสาว | ปาวิดา ทองธวัฒน์ | ตอนสู้กับกิเลสมันลำบาก ถ้าไม่มีปัญญาที่คมชัดจริง กิเลสมันจะไม่ยอมเชื่อ ไม่ยอมเปลี่ยนเป็นพุทธะ การบำเพ็ญเขียนพุทธะชนะทุกข์อย่างต่อเนื่องเป็นเหมือนการลับปัญญาให้คม พร้อมสู้กับกิเลสตลอดเวลา |
นาง | พรทิพย์ ไทยเอียด | ได้พิจารณาเห็นถึงความจำเป็นของทุกชีวิตมีแค่ปัจจัย 4 ที่เรียบง่าย ประหยัด หาได้ง่ายและไม่มีโทษ เท่านั้น ที่เหลือคือเราเอามาเกิน เอามากักตุนไว้ เท่ากับเป็นการสร้างความลำบากให้ผู้อื่น ทำให้คนอื่นขาดแคลน อดอยาก เราเอามาก็ไม่ได้ใช้ให้เกิดประโยชน์แต่อย่างใด เป็นการก่อวิบากร้ายให้กับตัวเองมากกว่า เท่านั้น |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | ไม่ควรประมาทที่จะฝึกฝนจิตใจ เพราะการคิด พูด ทำ ด้วยคลื่นพลังแบบไหน ผลที่ได้รับก็เป็นอย่างที่ทำ |
นาง | เฟื่องฟ้า นภาคะเวช | |
นางสาว | พริมรัศมิ์ จิวเลิศเลขา | สาระธรรมที่ได้จากหัวข้อการหายโรคเรื่องร้าย จากการที่เราบริโภคเนื้อสัตว์ทำให้เราเห็นโทษและพิษที่ส่งผลต่อร่างกาย ก่อให้เกิดการผลิตพลังงานที่เป็นพิษต่อร่างกาย เช่น กรดแลคติก, กรดยูริค, คาร์บอนไดออกไซด์, บียูเอ็น รวมถึงครีเอทินิน และอื่น ๆ เมื่อเราบริโภคเนื้อสัตว์มาก ผลก็คือทำให้เราอายุสั้นและมีโรคมากตามลำดับ วิธีที่จะลด ละ เลิกเนื้อสัตว์ได้จากกที่เราเลือกวิธีที่ส่งผลต่อร่างกายให้ได้รับความสบายนั่นคือ เลือกใช้ชนิด ปริมาณ และลำดับการรับประทานของพืชที่สมดุลร้อนเย็นกับชีวิต ทำให้เรารู้สึกเบา สบายท้อง มีกำลังอิ่มนาน โรคน้อย แข็งแรงอายุยืน |
นาย | วรเศรษฐ์ ชาญฤทธิ์นรีกุล | บททบทวนธรรมเป็นปัญญาพาพ้นทุกข์ สามารถนำไปปฏิบัติได้ง่ายและได้นำส่งต่อให้ผู้อื่นได้เรียนรู้ |
นางสาว | ประภาพรรณ โอษฐ์ยิ้มพราย | เราทุกข์กายทุกข์ใจ ประโยชน์ที่ได้รับ เราต้องไปต้องเข้าใจเรื่องกรรมอย่างแจ่มแจ้ง สิ่งที่เราได้รับคือสิ่งที่เราทำมา ไม่มีใครทำร้ายเราได้นอกจากตัวเราเอง ต้องยินดีให้ได้ในทุกสถานการณ์ ประโยชน์ที่ได้รับ เข้าใจเรื่องกรรม เรื่องวิบากกรรม และตั้งใจที่จะล้างกิเลสในตัวเราออกไปให้ได้ ทีละตัวๆ จะเมตตาและอุเบกขาให้ได้ ในแต่ละเรื่อง มีความเพียรที่จะล้าง กิเลส ตลอดไปค่ะ |
นางสาว | อัญชลี พุ่มแย้ม | ได้เข้าใจในการวางใจในการเจ็บป่วย หายก็ได้ไม่หายก็ไำด้ |
นาง | วันเพ็ญ ตั้งสกุลวงศ์ | ถ้าเจอผัสสะ ได้เห็นทุกข์ ได้ล้างทุกข์ ได้ใช้วิบาก หมดวิบาก ได้กุศล |
นาง | รมิตา ซีบังเกิด | การเป็นคนวรรณะ9 เป็นการใช้ชีวิตที่เรียบง่าย ร่างกายแข็งแรงขึ้นตามลำดับๆ ที่สำคัญคือจิตใจที่ไร้ทุกข์ พึ่งตนและช่วยคนอื่นๆได้พอควร |
นาง | สุมา ไชยช่วย | พยายามลดละอาการอุปกิเลส16นี้ อย่างเช่นความโลภอยากได้อาหารที่เราชอบเยอะๆ ก็พิจารณาท่านอื่นยังไม่ได้ทาน ก็ตักน้อยลงไม่ตามใจกิเลส ก็ทำให้ใจเบิกบานได้แบ่งปัน และชนะกิเลส |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | เรียนจากชีวิตจริง ไม่ใช่เรียนแต่ในห้องเรียนไม่ว่าเด็กหรือผู้ใหญ่คุรุหรือนักเรียนต้องมีศีล |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | ยินดีในความไม่ชอบไม่ขังไม่สุขไม่ทุกข์ |
นางสาว | พริมรัศมิ์ จิวเลิศเลขา | |
นางสาว | วาทยานนทผ์ | |
นาง | อรทัย สุทธิเสน | |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | เห็นด้วย เพราะการฟังแต่ละครั้งหรือฟังซ้ำๆ ทำให้ได้พิจารณาอะไรที่มากขึ้น และได้ซึมซับ |
นาง | สุมา ไชยช่วย | ได้นำมาใช้ในชีวิตประจำวัน มีผัสสะใดๆเกิดขึ้นให้อ่านใจ ไม่โทษคนอื่นให้หันกลับมา ซัดกิเลสตัวเอง เพื่อชดใชเวิบาก |
นางสาว | อุษา บุตรพรม | ไม่วาจะเกิดอะไร ในสถานการณ์ใด ใจไม่ทุกข์ ค่ะ |
นาง | ยุพิน ไชยยศ | การไม่ยึดติด.ทุกคนมีกรรมเป็นกำเนิด.ใจก็ไม่ทุกข์ |
นาง | นฤมล แป้นค้มญาติ | นำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้เป็นอย่างดีมีโอกาสแบ่งปันกับผู้อื่นด้วยคะ |
นางสาว | อุรา สังข์ชม | |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | เราทำดี ก่อเกิดผลดี เป็นวิบากดี เราทำไม่ดี ก็เป็นวิบากร้าย เป็นผลร้าย ประโยชน์ที่ได้รับ เราเกิดมาทั้งที ควรจะทำความดี ก็จะมีสิ่งดีๆเข้ามาในชีวิต |
นางสาว | รสริน สังข์เกื้อ | สิ่งที่ได้รับดี มีประโยชน์ทำให้สุขภาพดีขึ้น ได้ช่วยเหลือผู้อื่น ได้นำยา9เม็ดท่านอาจารย์หมอเขียว ไปบอกต่อๆกัน ได้ช่วยเหลือเพื่ิอนที่เชื่อ ธรรมมะอยู่แล้ว และได้รักษาร่างกายตัวเอง จากการปวดเมื่อยบ่า ได้กดจุดลมปราณ เพื่อสุขภาพร่างกายที่ดีให้กับตัวเอง กาย |
นางสาว | เอ็นดู พูลสวัสดิ์ | ลดกิเลสจะขยันมัความสุขแข็งแรง |
นางสาว | เอ็นดู พูลสวัสดิ์ | ไม่มีทุกข์มันก็สบายกว่าไม่อยากไม่ทุกข์ |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | อมรา อ่อนทรัพย์ | เพื่มศิลพิจารณาซ้ำๆขจัดความอยากที่เป็นโทษเป็นภัยความอยากเป็นเหตุแห่งทุกข์ทั้งหมดทั้งมวลได้ตามที่อยากก็สุขใจชอบใจไม่ได้ตามที่อยากก็ทุกข์ไม่ชอบใจ |
นางสาว | อมรา อ่อนทรัพย์ | ความกล้าแบบพุทธะพ้นทุกข์กล้าไม่ได้ดั่งใจก็พ้นทุกข์กำจัดความกล้าที่ไม่ได้ตามที่อยากก็สุขใจ ความกลัวแบบมีกิเลสเพื่มทุกข์กลัวไม่ได้ดั่งใจกลัวมีภัยเข้ามาในชีวิตก็ทุกข์ใจไม่ชอบใจ |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | สรุปสภาวะธรรม เราต้องทำดีให้มากๆเท่าที่เราจะทำได้ ประโยชน์ที่ได้รับจะได้มีสิ่งดีวิบากดี ให้เราได้อาศัย |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | กมลชนก ทุมวงษ์ | ลดกิเลสมีศีลเคร่งทำได้อย่างสบาย ประโยชน์ที่ได้รับ จากการไปเข้าค่ายครั้งแรกเมื่อปีพศ 2552 เมื่อกลับมาที่บ้านก็ได้ตั้งใจได้การลด ละ เลิกในการซื้อหวยก็ต้องใช้ความเพียรในการลดกิเลสความโลภความอยากได้สู้กับกิเลสจนสำเร็จทำให้รู้สึกโล่งโปร่งสบายอย่างที่ท่านอาจารย์หมอเขียวได้กล่าวไว้จริงๆ จากนั้นก็ค่อยๆลดละเลิกสิ่งที่ไม่ดีที่ไม่เกิดประโยชน์กับตัวเองยังเบียดเบียนผู้อื่นสัตว์อื่นหรือแม้แต่ตัวเองเช่นเลิกกินผงชูรส เนื้อสัตว์ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ เลิกเที่ยว ก็พบความผาสุกที่แท้จริง |
นางสาว | วิภาวัลย์ ถนัดธรรมกุล | ทำให้เข้าใจในข้อธรรมชัดมากขึ้น สิ่งที่สงสัยจางคลายลง นำมาใช้ประโยชน์ด้วยความมั่นใจไม่กลับไปทำชั่วอีกเชื่อชัดกรรมผลของกรรมมากยิ่งขึ้น |
นาย | คมเวช หงส์เชิดชัย | ได้สภาวะในข้อธรรมที่เคยสงสัยมีความเข้าใจมาขึ้นได้ทบทวนข้อธรรมได้ชัดเจนยิ่งขึ้น |
นาง | พรทิพย์ ไทยเอียด | |
นาง | สายพิมพ์ ลิ้มไพบูลย์ | เป็นจริงอย่างที่ท่านอาจารย์กล่าว ถ้าปฏิบัติหรือแก้ทางที่เกิดทุกข์กับสาเหตุของการเกิดทุกข์ แล้วแก้ให้ถูกทางทุกจะหายทันที แต่ถ้าเมื่อไหร่ที่จับไม่ถูกทางไม่มีสติ ขาดความรอบคอบ จะทุกข์นาน |
นางสาว | ประภัสสร ชาญชัยชูจิต | ทุกครั้งที่ได้ฟังธรรมจะทำให้มีปัญญามากขึ้น แก้ไขปัญหาได้เร็ว ประโยชน์ที่ได้รับคือความเบิกบาน แจ่มใส ชีวิตไม่ทุกข์ |
นางสาว | จรัสพักตร์ จังหวะเพลง | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นาง | สุรีนารถ ราชแป้น | ได้นำมาใช้เวลามีความทุกข์กาย ทุกข์ใจเวลามีความกลัวระแวงหวั่นไหว และเวลามีปัญหาทุกปัญหาได้นำวิธีแก้ทั้ง5ข้อมาปฏิบัติในการคลายทุกข์กาย ทุกข์ใจ |
นางสาว | ปาวิดา ทองธวัฒน์ | ทำเต็มที่ด้วยความยินดี พอใจ แบบไม่ยึดมั่นถือมั่น ในทุกเรื่องจะไม่มีทุกข์ |
นาย | กิตติ สิริพณิชพงศธร | ส่วนใหญ่เราจะทุกข์ใจเมื่อได้เจอกับเหตุการณ์ต่างๆ จะมาในรูปแบบความโกรธ กลัว ระแวง หวั่นไหว ดังนั้นเราต้องตรวจดูใจของเราทุกครั้งที่เจอเหตุกราณ์ต่างๆว่าทำให้เราทุกข์ใจในแง่มุมไหน แล้วรีบล้างออกให้หมดหรือน้อยลงเป็นประจำ |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | เห็นด้วยกับอาจารย์และควรพยายามฝึกฝนตน กินใช้แต่พอดี อะไรที่พึ่งตนได้ก็พยายามทำ |
นางสาว | ปัทมา ลีฬหาวงศ์ | เราไม่สามารถเดาหรือคาดคเเหตุใดๆได้เลยว่ามันจะสุขหรือทุกข์พุทธจะได้สุขหรือทุกข์ก็สุขใจได้ |
นาย | กิตติ สิริพณิชพงศธร | การจะช่วยเหลือผู้อื่นต้องรู้จักประมาณให้พอเหมาะทั้งก่อนจะช่วย ขณะช่วย และหลังจากช่วยแล้ว โดยไม่คาดหวังว่าเขาจะยอมรับวิธีที่เราบอก หรือหวังผลสำเร็จที่เราต้องการ |
นาง | เฟื่องฟ้า นภาคะเวช | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นาย | กิตติ สิริพณิชพงศธร | |
นาย | กิตติ สิริพณิชพงศธร | |
นาง | เกษร อินต๊ะปัญญา | เราต้องหมั่นตั้งศีล ถึงจะกำจัดกิเลสได้ กิเลสมันโตทุกวัน ทุกวัน เราอยากทีไร มันจะทุกข์ เราต้องใช้ปัญญาสลายทุกข์ เราจะยอมทุกข์กับมัน นานหน่อย ต้องอดทน แต่เราจะชนะ ตั้งตนอยู่บรความลำบาก กุศลธรรม เจริญยิ่ง |
นาย | กิตติ สิริพณิชพงศธร | ถ้าเราทำผิดอุปกิเลส 16 จะทำให้เราได้รับเรื่องร้ายๆได้ทุกอย่าง ยิ่งพลาดไปทำกับคนดีก็จะได้รับทุกข์หนักและนาน ดังนั้นเราต้องพยายามฝีกคิดดี พูดดึ ทำดี กับทุกคนหรือสิ่งต่างๆที่มาเกี่ยวข้องกับเรา |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | ปาวิดา ทองธวัฒน์ | เหตุผลที่เราถูกหมู่มิตรดีด่าแล้วเจ็บเป็นเพราเราเอาอัตตาไปรับคำพูดนั้น อีกทั้งการคิดถึงคำพูดนั้นซ้ำแล้วซ้ำอีกเพราะมีกิเลสมาก จึงเกิดเป็นความทุกข์ซ้ำซาก เจ็บแล้วเจ็บอีกไม่รู้จบ |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | เห็นด้วยกับการพัฒนาไฟแดดเพื่อใช้ในการพึ่งพาตนเอง แต่คิดว่าต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญในเบื้องต้นก่อนตามที่อาจารย์กล่าว รอติดตามผลงานประดับความรู้เรื่อยๆค่ะ เผื่อมีโอกาสได้สัมผัสในอนาคต |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นาง | นบชุลี เสาวนา | |
นาง | พิกุล วันจันทร์ | ความอยากทำให้เกิดทุกข์.. |
นาง | วันเพ็ญ ตั้งสกุลวงศ์ | ถ้ากำจัดกิเลสได้ความโง่จะลดลงไปอีกเยอะ ปัญญาจะเพิ่มขึ้นอีกเยอะ |
นาย | ประสิทธิ์ เชยชม | ฟังธรรมคบเคารพมิต |
นาง | ภัคภร จันทราสกุล | |
นาง | นฤมล แป้นคุ้มญาติ | ทำให้เราได้ฆ่ากิเลสอานใจฝึกล้างกิเลสทุกวันค่ะเพิ่มอริยะศีล |
นางสาว | ตรีทิพย์นิภา ไทยรักษา | สิ่งที่ได้รับคือสิ่งที่เราทำมา เรามีกรรมเป็นกรรมเนิด เรามีกรรมเป็นเผาพันธุ์ |
นาง | สุมา ไชยช่วย | เพิ่มศีลขึ้น ค่อยๆกำจัดกิเลส |
นาง | รมิตา ซีบังเกิด | ศีลข้อ2 ละเว้นจากการลักทรัพย์ เว้นขาดจากการลักทรัพย์ รับแต่ของที่เขาให้ ต้องการแต่ของที่เขาให้ ไม่ประพฤติตนเป็นขโมย พุทธะดีหรือร้ายเกิดก็เอาประโยชน์ได้หมด ยินดีในความเป็นจริงตามความเป็นจริงเราก็ไม่ต้องทุกข์อะไร เป็นความเกิดความดับของกิเลส เป็นความกลัวที่ไม่ได้ตามที่อยากให้เลิกคิด สุขที่สุดก็คือ ไม่ยึดมั่นถือมั่นอะไร ไม่สุข ไม่ทุกข์ ทำอะไรที่เป็นประโยชน์ได้ก็ทำ ทำได้เท่าไหร่ก็เอาเท่านั้น โดยใช้ธรรม 6 ประการคือ ย่อมยินดีในธรรม ย่อมเป็นผู้ยินดีในการละ |
นางสาว | รสริน สังข์เกื้อ | ฟังแล้วรู้สึกเข้าใจการใช้ชีวิตมากขึ้น รู้ทันเหตุการณ์เทื่อถูกกิเลสหลอกให้ทุกข์ มีประโยชน์ มากจากที่ทุกข์์ไม่ค่อยมีความสุขในการใช้ชีวิต ก็เริ่มเข้าใจมากขึ้นเพราะที่ผ่านมาก่อนจะเจอท่านอาจารย์ ก็ปฎิบัติอยู่แล้ว จากทำบุญเข้าวัด สวดมนต์ก็ยังทุกข์ เมื่อได้มาเจออาจารย์ชี้แนวทางให้ได้เข้าใจมากขึ้นค่ะ |
นางสาว | ประภาพรรณ โอษฐ์ยิ้มพราย | ชีวิตไม่ต้องการเงิน ชีวิตต้องการสิ่งจำเป็น ๆประโยชน์ต่อชีวิต สิ่งที่ไม่จำเป็น ชีวิตไม่ต้องการ เรามีอะไรเราก็ใช้เท่าที่มี เรามีการพัฒนาสร้างสรร สิ่งที่ดีงามมีประโยชน์ต่อตนเอง และเกื้อกูลช่วยเหลือผู้อื่น แม้มีเงินน้อยชีวิตก็อยู่รอด |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | สรุปสิ่งที่ได้รับจากการฟังธรรม จะทำอะไรอะไรก็ต้องมีความยินดี ประโยชน์ที่ได้รับ ทำให้จิตใจเป็นสุขมีชีวิตชีวา มีร่างกายที่แข็งแรงมีจิตใจที่ดีงาม ต่ออายุให้ยืนยาวขึ้น |
นาง | สุรีนารถ ราชแป้น | การอธิศีลทำให้แก้ปัญหา และเรื่องร้ายต่างๆ ได้ดี เมื่อเกิดเรื่องร้ายให้ดับทุกข์ใจก่อน |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | ธรรมะของพระพุทธเจ้าคือประชาธิปไตยที่แท้จริงผู้ใดปฏิบัติธรรมถูกตรงตามพระพุทธเจ้าคือนักการเมืองที่แท้จริงพระพุทธเจ้าคือหัวหน้านักการเมืองที่ดีที่สุดในโลก |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | พร้อมเพรียงกันประชุมพร้อมเพรียงกันเลิกมติหมู่เอาอย่างไรเอาอย่างนั้นมีแต่เจริญอย่างเดียวไม่มีเสื่อม |
นาย | สุนทร คำเหลือง | |
นาง | ศิลามณี ศรีบุญเรือง | นำมาปรับใช้ในการดำเนินชีวิต |
นาง | จำปา ลัคณาสถิตย์ | สิ่งที่เราได้รับเราทำมาเราต้องทำมาแน่ๆคิดแบบนี้ใจที่มันร้อนมันก็เย็นลง |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | ถ้าผู้นำเป็นคนดีมีศีล ผู้ปฏิบัติตามก็จะเป็นคนดีมีศีล ประโยชน์ที่ได้รับ ก็จะเกิดสิ่งที่ดีขึ้น |
นางสาว | รัตนา กิจเกื้อกูล | |
นาง | อรทัย สุทธิเสน | |
นางสาว | กมลชนก ทุมวงษ์ | ยอมรับในสิ่งที่เราทำมาไม่ว่าจะเป็นสิ่งดีหรือไม่ดี เมื่อรับแล้วก็ให้หมดไปแล้วจะโชคดีขึ้น ชั่วไม่ทำทำแต่ดี ประโยชน์ที่ได้รับ มีความสุขกับทุกสถานการณ์ให้ได้ ยินดีชดใช้ในสิ่งที่เราทำมาในส่วนที่ไม่ดี แล้วเราจะไม่ทำสิ่งนั้นอีก ให้อภัยตัวเองแล้วเริ่มต้นใหม่ทำแต่สิ่งดีๆ |
นาง | เฟื่องฟ้า นภาคะเวช | |
นางสาว | วิภาวัลย์ ถนัดธรรมกุล | ทุกข์เกิดจากกิลส ความอยาก ความยึดมั่นถือมั่นความหลง การไม่วาง เมื่อการสิ่งเหล่านี้ใจใน ก็ทำให้เกิดทุกข์กายทุกข์ใจ เรื่องร้ายต่างๆไม่สิ้นสุด ถ้าเข้าใจทุกข์เหตุแห่งทุกข์ ดับเหตุแห่งทุกข์ด้วยการวาง ความยึดมั่นถือมั่นวางกิเลสในใจวิธึด้บทุกข้ดับที่ต้นเหตุของทุกข์เมื่อทุกข์ดับไม่เหลือ ปัญญาจะพาเราเช้าถึงธรรมหมดทุกข์ทั้งปวงได้ |
นาย | คมเวช หงส์เชิดชัย | เราต้องร่วมมือกันเลือกคนดีมาทำงานเพื่อให้ได้คนดีที่เสียสละมาทำงานให้ผู้คนส่วนใหญ่ได่รับประโยชน์สูงสุด ทำให้เกิดความเจริญให้ประเทศด้าวหน้าทันประเทศเพื่อนบ้าน |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | คุรุนิหน่อยสรุป ในห้องอปริหานิยธรรม เล่าเรื่องที่พ่อครูอ่านพระไตรปิฏก วันนี้ เข้าใจมากยิ่งขึ้น |
นางสาว | เอ็นดู พูลสวัสดิ์ | ผู้มีปัญญาย่อมมีศีลผู้มีศีลย่อมมีปัญญามีศีลดีมีปัญญาเร็ว |
นางสาว | เอ็นดู พูลสวัสดิ์ | กิเลสแม้นน้อยทุกข็น้อยไม่มีกิเลสแม้น้อยก็เป็นทุกข์มากล้างกิเลสหยาบได้ก์เห็นผล |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | พยายามใช้แรงกายแรงใจ ฝึกฝนการกินอยู่ง่าย พึ่งของอำนวยความสะดวกไม่มากเกินไปจะดี |
นางสาว | ปัทมา ลีฬหาวงศ์ | รับผิดชอบในสิ่งที่เราทำมา สภาวะธรรมที่ได้คือเต็มใจรับในวิบากที่เราทำมาทั้งดีและไม่ดีเพราะเป็นสิ่งที่เราทำมารับแล้วก็หมดไป เราก็จะเจริญขึ้น |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | ประภัสสร ชาญชัยชูจิต | การฟังธรรมบ่อย ๆ ทำให้เจริยในทางธรรม โดยเฉพาะเรื่องความกลัว ทำให้กล้าที่จะรับ สิ่งที่เกิดขึ้นที่ไม่ได้ดั่งใจหมาย |
นางสาว | วลัยพักตร์ ชุมทอง | ต้องเลือกคนดีผู้ว่ากทม ให้คนดีมีอำนาจปกครองบ้านเมืองให้คนดีได้เสียงจนชนะ |
นางสาว | พริมรัศมิ์ จิวเลิศเลขา | เราสามารถนำนิยยานิกธรรมที่เป็นญาณปัญญาทั้ง 7 ข้อ ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันต่อการดำรงชีวิต หน้าที่การงาน และครอบครัวได้ สามารถหลุดพ้นและเที่ยงต่อการพ้นทุกข์ได้ไม่ยาก ค่อย ๆ ฝึกฝนและหมั่นปฏิบัติ ตามดูรู้จิตของเราว่าทำได้เท่าที่ทำ ถ้าสามารถพัฒนาได้พละกำลังของจิต ศีล สมาธิ ปัญญาก็จะเจริญงอกงามเป็นไปตามธรรมชาติเอง |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | เห็นด้วยกับอาจารย์ เพราะเคยมีความติดดีโดยไม่รู้ตัว ทำให้ขัดเคืองใจเมื่อมีคนทำไม่ตรงใจเรา แต่เมื่อเรามาเรียนรู้การวางใจ ทำให้รู้ว่า คนจริงจะไม่รู้สึกต่อสิ่งแวดล้อม และหันมาดูตัวเราเป็นดี ดังภาษิต บัณฑิตย่อมไม่เพ่งโทษผู้อื่นเป็นกำลัง |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | ชีวิตจะสุขก็ได้ จะทุกข์ก็ก็ได้ใรเหตุการณ์จะสุขจะทกข์ก็สัขใจจะทุกข์ใจไปทำไม |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | ให้เห็นว่ามีกิเลสเป็นโทษเป็นทุกข์ ไม่มีกิเลสไม่เป็นโทษไม่เป็นทุกข์พิจจารนาซ้ำๆขึ้นไปนี้คือการกพจัดกิเลสที่ไม่เป็นโทษไม่เป็นทุกข์ |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นาง | เฟื่องฟ้า นภาคะเวช | |
นาง | เฟื่องฟ้า นภาคะเวช | |
นางสาว | วันเพ็ญ ตั้งสกุลวงศ์ | ทุกข์จริงๆมันมีอย่างเดียวคือไม่ได้ดั่งใจ |
นาง | รมิตา ซีบังเกิด | คนพาลได้ใกล้ชิดบัณฑิตไม่สามารถรู้ว่าเป็นบัณฑิตเหมือนทัพพีไม่รู้รสแกงจึงไม่พ้นทุกข์ แต่วิญญูชนย่อมรู้ได้ เหมือนลิ้นรู้รสแกงจะมีปัญญาทำให้พ้นทุกข์ คนทำชั่วแต่ได้รับผลกรรมช้าเพราะมีกุศลช่วย เมื่อพลังความดีที่ตั้งศีลจะเตือนเร็วว่าสิ่งใดเป็นโทษ สิ่งใดเป็นประโยชน์ต่อร่างกาย เหตุการณ์ อย่างรวดเร็ว คนเกิดมาในโลกทำชั่วหาที่ต้นที่สุดไม่ได้ ทำให้คนพ้นทุกข์ไม่ได้ซึ่งปรากฎใน ทุกขตสูตรและสุขสูตร ซึ่งทำให้ไม่รู้ตัวในการทำดี ทำชั่วเพราะมีกิเลสบดบัง พอมาเกิดใหม่จะมีทั้งดีและร้ายเพราะมีวิบากดีและร้ายสังเคราะห์กัน พอวิบากดีหมดจะเกิดทุกข์เพราะไม่ได้ล้างกิเลส ทำให้เกิดปัญหาไปเรื่อยๆไม่มีใครสามารถช่วยได้ทำให้เกิดโรคร้ายต่างๆตามมา จึงจะต้องทำกุศลและช่วยเหลือผู้อื่นจึงจะได้หมดวิบาก คนทำสิ่งใดเหมือนกันแต่ได้รับผลต่างกัน คนทำชั่วรับผลร้ายกับตนเองเพราะเสพกิเลสทำตามความยาก ความกลัว กังวล คือวิบากร้ายทำลายสุขภาพ เกิดความไม่สมดุลกับร่างกาย คนเราจะมีวิบากร้ายส่งผลตลอดเวลาอยากได้สุขไม่อยากได้ทุกข์ ความไม่รู้ทำให้ทำผิดมากขึ้น สิ่งไม่ดีก็เห็นว่าดี เสพกิเลสแล้วจะดี การไม่เสพกิเลสจะมีพลังสร้างสิ่งดีมีปัญญา ถ้าไม่มีผู้รู้บอกจะหลงทางทำชั่วมากขึ้นออกจากทุกข์ไม่ได้ |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | ถ้าเราคิดพูดทำดีก็จะเกิดวิบากดี ถ้าเราคิดพูดทำไม่ดีก็จะเกิดวิบากร้าย ประโยชน์ที่ได้รับเราจึงทำแต่สิ่งที่ดี ทำให้เกิดสุข |
นาย | สุนทร คำเหลือง | |
นาง | อรทัย สุธธิเสน | |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | กิเลสเป็นทุกข์พุทธะเป็นเหตุแห่งสุข ประโยชน์ที่ได้รับเราจะทำดีที่ทำได้ก็จะเกิดสิ่งดีทั้งทางใจทางกายและเหตุการณ์ |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | รสริน สังข์เกื้อ | รู้สึกดีแล้วทำให้จิตใจเบิกบาน แจ่มใส ไม่เศร้าหมองรู้ทันกิเลส ฟังท่านอาจารย์พูดแล้วทำให้ร่างกายสุขภาพดี เมื่อฟังธรรมะแล้วทำให้มีความสุข เมื่อมีความสุข ร่างกายก็จะแข็งแรงค่ะ |
นางสาว | โอษฐ์ยิ้มพราย | ทำให้ได้รู้ถึงการประมาณในการกิน ประโยชน์ที่ได้รับจากการฟัง กินพออิ่ม สบายท้อง หากกินมากจะไม่สบายท้อง อึดอัด ซึ่งก็เคยเป็นมาแล้ว ทำให้เราต้องรู้จักประมาณในการกิน |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | เห็นด้วยเนื่องจากการทำได้ในสิ่งเล็กน้อย จะค่อยๆเสริมแรงใจให้สามารถปับแก้สิ่งที่ยากขึ้นต่อไปเป็นลำดับ |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | เห็นความจริงจากเรื่องที่ท่านอาจารย์กล่าวไว้ เคยคิดติดแป้น แต่ก็หยุดไม่ได้ เพราะได้รับทุกข์ สุดท้ายต้องตั้งศีลเพิ่ม |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | เห็นด้วยและไม่ควรที่จะคาดคั้นให้ทุกคนต้องเป็นเช่นเดียวกัน |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | อยากเข้าหมู่ค่ะ แต่วิบากยังมาก ไม่รู้เมื่อไหร่หรอ? กุศลจะพอ |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | วันเพ็ญ ตั้งสกุลวงศ์ | ประหยัดเรียบง่าย ประโยชน์สูงสุด และช่วยคนได้สูงสุด |
นางสาว | อุษา บุตรพรม | กิเลสความอยากทำให้ทุกข์ ในโลกนี้ถ้าเราไม่อยากได้อะไรแล้วก็ไม่มีอะไรจะทุกข์ เมือเข้าเช่นนี้แล้วใจเราก็สุขเบาสบายค่ะ |
นาย | มงคลวัฒน์ รัตนชล | สำคัญที่สุดคือเคารพหมู่มิตรดีร่วมกิจกรรมเช็นกงล้อธรรมจักรตามมติหมู่ให้เต็มกำลังตามฐานะพร้อมทั้งอ่านชอบชังในใจไปพร้อมๆกันทุกผัสสะและให้จบลงที่เบิกบานเท่าที่ทำได้ในผัสสะครั้งนั้นๆ |
นางสาว | ภนิดา ปิ่นมณี | ปล่อยวา่งมากขึ้น..มีสติมากขึ้น ฉลาดในทางที่ดีขึัน |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | ธรรมจากท่านอาจารย์ ฟังแค่ประโยชน์เดียวก็นำไปใช้ประโยชน์ได้ |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | คิดว่ายังต้องฝึกฝนอีกมา เพราะบางครั้งเพียรเต็มที่เหนื่อยแล้วรู้สึกอ่อนเพลียแทน แต่พอจะเข้าใจถึงความรู้สึกโล่งเบา เมื่อได้เลือกทำในสิ่งที่ถูกต้อง |
นาง | รมิตา ซีบังเกิด | พระพุทธเจ้าได้เดินทางไปโปรดเบญจวัคคี แต่ก่อนเมื่อไปถึงเบญจวัคคีตั้งใจจะไม่ต้อนรับพระองค์ แต่ด้วยบุญบารมีของพระพุทธเจ้าและจากอดีตชาติที่เคยทำร่วมกันมา ทำให้เบญจวัคคีกลับต้อนรับพระองค์เป็นอย่างดี พระพุทธเจ้าได้ทรงเทศนาให้เบญจวัคคีฟัง ในที่สุดก็สามารถบรรลุธรรมได้ แต่ละวันให้ทำ4อย่าง 1คบและเคารพมิจรดี 2สานพละงกับสัตบุรุษและหมู่มิตรดี3พึ่งตนในสิ่งที่จำเป็นและเป็นประโยชน์ต่อชีวิต4เกื้อกูลช่วยเหลือผู้อื่น |
นาง | เกษร อินต๊ะปัญญา | สามารถพึ่งตนได้ นำธรรมะไปปฏิบัติสู่การพ้นทุกข์ |
นางสาว | วันเพ็ญ ตั้งสกุลวงศ์ | การดูแลสุขภาพ และติดตั้ง ไฟแดด ทำให้เกิดประโยชน์มากมาย ประหยัดเรียบง่าย และสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ ไม่เดือดเนื้อร้อนใจเหมือนสังคมภายนอก |
นาย | สุนทร คำเหลือง | |
นางสาว | รสริน สังข์เกื้อ | ได้รับคะ ฟังแล้วจะได้รู้ทัน เพราะถ้าไม่มีธรรมะ ใช้ชีวิตแบบทางโลก เห็นทุกวันนี้ คนมีการเก่งแย่งชิงดี ใครร่ำรวยมีหน้ามีตา อยู่ได้ในสังคม ใครไม่มีเงินชีวิตไม่มีใครอยากคบ แต่ทางธรรม สอนให้รู้ว่า มีกินพอกิน ทำกินเองชีวิตก็อยู่รอด ไม่จำเป็นเก่งแย่งชิงดีกับใคร ได้คบแต่มิตรดี ชีวิตก็หรูแล้ว |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | ดินดีเพราะหญ้าปรก หญ้ารกเพราะดินดี หญ้าปุ๋ยฟรี ปุ๋ยดี ปุ๋ยตลอดกาล เย้ |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | ชัดเจนอาหารเป็นหนึ่งในโลกอากาศร้อนยิ่งกินอาหารฤทธิ์ร้อนทำให้ขี้กรากขี้เกลื้อนขึ้นมาอีก |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | ถ้าเราปฏิบัติศีลได้ถูกต้อง จะเกิดปัญญา และสิ่งดีงามทั้งหลายทั้งปวง ประโยชน์ที่ได้รับ นำเอาปัญญานี้ไปดับทุกข์ใจทุกข์กายและเรื่องร้าย ทั้งหลายทั้งปวง |
นาง | สายพิมพ์ ลิ้มไพบูลย์ | การมีชีวิตมาอยู่รวมกันและทำประโยชน์ให้มากที่สุด เสียสละทั้งแต่ตนเองและผู้อื่นเคารพในสิ่งที่ควรเคารพ เช่นการเสียสละมาบำเพ็ญในส่วนต่างๆที่เป็นสาธารณะ สิ่งที่ได้เห็นเห็นคือความสุขความอิ่มเอิบใจของการเป็นผู้ให้และเสียสละ |
นาง | เฟื่องฟ้า นภาคะเวช | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นาง | ภัคภร จันทราสกุล | |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | เราต้องลดกิเลสปัญหาต่างๆจะได้ลดน้อยลงน้อยลง ประโยชน์ที่ได้รับได้พบวิธีการแก้ปัญหา |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | กุศลยังไม่พอค่ะ สะสมไปเรื่อยๆ สักวันคงได้เข้ามาแบบเต็มๆตัว ไม่ชาตินี้ก็ชาติหน้าค่ะ |
นางสาว | จรัสพักตร์ จังหวะเพลง | บุญ คือ การลดละเลิกกิเลส สิ่งที่มองไม่เห็น ทำหน้าที่สร้างสิ่งที่มองเห็น มาตาลีเทพ จะไปยื้มไปดึงไปดลคนสัตว์สิ่งของเหตุการณ์ดีร้ายให้เกิดขึ้นได้ กรรมมีจริง ประโยชน์ที่ได้รับ ทำให้เข้าใจชีวิตมากขึ้นกว่าแต่ก่อน ทั้งกายและจิตวิญญาณ |
นางสาว | อุษา บุตรพรม | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | บางครั้งจะให้อะไรใครเหมือนคิดมาก กลัวเสริมกิเลสเขา |
นาย | ดร.สรรเพชญ โทวิชา | |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | เห็นด้วยเพราะเวลาที่มีความอยาก จิตใจจะรู้สึกไม่สงบเท่าสภาวะปกติที่ไม่มีความรู้สึกอยากหรือไม่อยาก |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | ถึงทุกคนจะไม่สามารถทำได้อย่างง่าย แต่ถ้าค่อยๆทำทีละนิดตั้งแต่วันนี้ด้วยตนเองก็จะเป็นประโยชน์ได้เช่นกัน |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นาง | วันเพ็ญ ตั้งสกุลวงศ์ | ใจถึงๆหน่อย จะไม่ทุกข์หรอก ใจถึงธรรม จะหายทุกข์ ทำให้เราตั้งใจที่จะใจถึง ที่จะล้างกิเลสยิ่งๆขึ้นไป |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | จากธรรมะที่ท่านอาจารย์บรรยาย คนฉลาดคือการพึ่งตนคนมีปัญญาจะทำเช่นนั้นชีวิตที่พึ่งตนเองได้ที่สุดคือทางรอดที่สุดของชีวิตกราบขอบพระคุณท่านอาจารย์หมอเขียวที่เคารพยิ่งค่ะศิษย์ได้ฟังเมื่อย้อนดูตนต้องเพิ่มปัญญาและเรียนรู้ในศูนย์ให้มากๆเพื่อก่รพึ่วตนให้มากกว่าที่เป็นอยู่เพราะคือทางรอดที่สุดของชีวิตกราบอนุโมทนาสาธุในบารมีของท่านอาจารย์หมอเขียว(ดร.ใจเพชร กล้าจน)ด้วยความเคารพยิ่งค่ะ สาธุค่ะ |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | ดับความอยากได้ใจเป็นสุข นี้คือความสุขที่สุดยอดที่สุดจากการได้ฟังอยากได้สิ่งใดๆถ้าดับได้ใจ้ป็นสุขจริงๆค่ะ |
นาง | รมิตา ซีบังเกิด | ถ้าเราไมดับหิเลสของตัวเองได้เราก็ไม่สามารถช่วยเหลือใครได้เลย เป็นสาเหตหนึ่งที่ทำให้ตนเองเกิดการเจ็บป่วยได้และไม่สามารถประสบความสำเร็จ. โดยเฉพาะในสภาวะที่เกิดโรคระบาดพยายามอย่าลงทุนให้มาก ใช้ชีวิตแบบพอเพียง เรียบง่าย ด้วยการผลิตอาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัยและยารักษาโรคด้วยการประหยัด เรียบง่ายและพึ่งตนเองให้มากที่สุดเพื่อให้ชีวิตอยู่รอด |
นาง | พีระพร จันทร์มงคล | ไม่กลัวไม่กังวลต่อเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น ไม่ว่าจะดีหรือร้าย เพราะเราทำมา รับแบบกล้า ยินดี พอใจ ทุกข์ให้โง่ทำไมล่ะ รับแล้วก็หมดไป า |
นางสาว | รสริน สังข์เกื้อ | มีประโยช์มาก ได้รู้และปฎิบัติก่อนที่เราจะป่วยเป็นโรค ได้มีโิกาสได้ดูแลสุขภาพตัวเราเองง |
นาย | สุนทร คำเหลือง | ในจิตของตนเองยังติดกามคุณทั้ง๕อยุ่แต่ไม่ได้ทำให้เดือดร้อนผู้อิ่นยังเดือดร้อนตนเองบ้าง พยายามลดการหลงกามคุณ เช่นกินอาหารพืชผักไม่ปรุง คิดที่รสชาติเป็นโทษเสพความสุขปลอมเป็นพิษเป็นภัย เบาใจเบากายพอประมาณพอทนได้ |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | ปฏิบัติศีลจะทำให้เกิดปัญญา เมื่อเกิดปัญญาก็จะปฏิบัติศีลอย่างตั้งมั่น ประโยชน์ที่ได้รับ เมื่อเราปฏิบัติศีล ก็จะเกิดสิ่งดีทั้งทางใจทางกายและเหตุการณ์ |
นาง | จำปา ลัคณาสถิตย์ | ฟังธรรมแล้วได้สภาวะเมื่อก่อนที่ยังไม่ได้มาเจออาจารย์คนอื่นจะว่าเราไม่ได้เลยของจะขึ้นทันทีตอนนี้ใครจะมาว่าเราไม่มีตอบโตอะไรเลยได้แต่บอกตัวเองว่าเราทำมาทั้งนั้นสิงที่เราได้รับเราทำมา |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | สรุปสภาวะธรรม เราต้องรู้ในการประมาณในการทำสิ่งต่างๆ ประโยชน์ที่ได้รับ ทำให้รู้ว่า ประมาณว่า อะไรควรทำอะไรไม่ควรทำ |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | อุษา บุตรพรม | ฟังแล้วนำมาปฎิบัติตาม ตามดูกายใจตัวเองสงบเย็นขึ้นตามลำดับๆ ค่ะ |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | เข้าใจสิ่งที่อาจารย์บรรยาย แต่เมื่อเจอผัสสะ รู้สึกว่าไม่ง่ายเลย มันจะมีความตะขิดตะขวงขึ้นมาในใจบ่อยๆ แต่ก็พยายามนึกถึงคำสอนอาจารย์และโฟกัสที่การกระทำของตนเอง |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | ประภาพรรณ โอษฐ์ยิ้มพราย | ความกลัว ความอยาก ความขี้เกียจ เป็นกิเลส เมื่อเกิดในเรา ต้องใช้ความกล้า8ประการจัดการและกิเลสเหล่านั้นมันไม่มีจริง มันเป็นทุกข์ ไม่มีตัวตน มันไม่น่าได้น่าเป็นเลย เราควรขจัดมันออกไปพิจารณาซ้ำๆไป ประโยชน์ที่ได้รับ ใช้พิจารณาเสมอเมื่อมีกิเลสเหล่านี้เกิดขึ้น ดูใจเราทุกข์หรือไม่ไม่ว่าจะเกิดความไม่สบาย ทั้งร่างกาย จิตใจ เหตุการณ์ เราต้องดับทุกข์ใจให้ได้ก่อนอื่นเลย ซึ่งตัวเองก็ใช้หลักและปฏิบัติตามคำสอนอาจารย์เสมอๆในการดูแลรักษาตนเอง และจะพากเพียรตลอดไป |
นางสาว | ปาวิดา ทองธวัฒน์ | ทุกอย่างที่เราไปให้ความรู้สึกแม้เพียงเล็กน้อยจะส่งผลในอนาคตทั้งสิ้น |
นางสาว | วันเพ็ญ ตั้งสกุลวงศ์ | เราไม่ถือสา เราถือศีล เรามาทำตัวนี้ รับแล้วหมดไป ทำให้เราได้สติมา บางครั้งเราก็ถือสา ลืมถือศีล |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | เรียนรู้เรื่งศีลให้ดีลดละเลิกไปในสิ่งที่ไม่มีประโยชน์กลับมาทำในสิ่งที่ดีมีประโยชน์สิ่งที่ได้ปฏิบัติจากศีล๕ขึ้นไปย่อยๆก็จะเห็นภูมิปัญญาของในแต่ละวัาจะพูดจะคุยอะไรก็ต้องระวังสำรวมให้เป็นสัภาษิตจะไม่ให้เป็นทุภาษิตดังที่ท่านอาจารย์หด้สั่งสอนศิษย์ด้วยการบรรยายวันละหลายๆชั่วโมงพร้อมกับทำตัวอย่างให้ดูและท่านก็ยังติดตามผลงานผลขอลการปฏิบัติของเหล่าศิย์จิตอาวามุกท่านด้วยสาธุค่ะ |
นาง | สุมา ไชยช่วย | มีความเป็นห่วงลูกเมื่อรู้ข่าวว่าติดโควิด ก็กังวลมากเหมือนกัน จึงบอกกิเลสว่า วิบากเขา เขาต้องรับ ไม่มีใครช่วยใครได้ แต่ใจเราต้องไม่ทุกข์เป็นพอ ก็เลยสอนกิเลสไปว่า ถ้าเป็นคนอื่นติดโควิดเราไม่เห็นทุกข์เลย แต่ลูกเราเป็นโควิดทำไมทุกข์ ทุกข์เพราะเราไปยึดว่าเขาเป็นลูกเราไง จึงทุกข์ ก็เลยวางใจได้ไม่ทุกข์ |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | มิตรดีสหายดีสังคมสิ่งแวดล้อมที่ดีเป็นทั้งหมดทั้งสิ้นของความพ้นทุกข์ ประโยชน์ที่ได้รับ เพิ่มปัญญาพาพ้นทุกข์ได้จริงค่ะสาธุ |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | เมื่อผู้นำมีศีลมีธรรม ผู้ตามก็มีศีลมีธรรม ประโยชน์ที่ได้รับ เมื่อผู้นำมีศีลมีธรรม ผู้ปฏิบัติตามก็มีศีลมีธรรม หมู่กลุ่มนั้นก็เจริญ |
นาง | สุมา ไชยช่วย | ยึดสิ่งใดก็เป็นทุกข์ ยึดว่านี่ลูกเรา เวลาลูกเราเจ็บป่วย คิดว่าถ้าไม่ใช่ลูกเราล่ะราจะไม่ทุกข์ |
นางสาว | รสริน สังข์เกื้อ | ชอบฟังท่านอาจารย์พูดบรรยาย มีประโยชน์มากได้ดูแลพ่อแม่ที่ป่วย ได้นำหลักสูตรอาหารท่านอาจารย์มาดูแลพ่อแม่ และดูแลร่างกายตัวเองด้วย สาธุคะ |
นาย | ชัยวัฒน์ ประพัฒน์รังษี | สรุปสภาวะธรรม อย่าเสียเวลาไปเลี้ยงสัตว์ ให้เอาเวลาเหล่านั้นมาทำความดี จะได้เป็นวิบากดีโดดดึงสิ่งดีเข้ามาผลักดันสิ่งร้ายออกไป ประโยชน์ที่ได้รับ ให้เอาเวลามาทำความดี จะเกิดสิ่งดีๆทั้งทางร่างกายจิตใจและเหตุการณ์ |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | เห็นด้วย เพราะการยึดดี ล้างชั่วก่อนเป็นขั้นต้นที่ทำได้ง่าย |
นาย | สุนทร คำเหลือง | ถ้าเราไม่ระลึกวิกรรมร้ายที่เปล่งวาจาออกมาทวารทั้งสามและวิบากกรรมห้าเราจะไม่รู้เราสู้ด้วยคิดที่กุศลสบายใจเช่นคนว่าเราไปในทางที่ร้ายเราระงัดความโกรธด้วยการวางใจเบาสบายคิดในทางที่ถูกศีลถ฿กธรรมก็สบายใจ |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | อุษา บุตรพรม | ทันความอยาก/กิเลสเร็ว ขึ้น ใจเย็นสงบง่าย |
นางสาว | ประภาพรรณ โอษฐ์ยิ้มพราย | คนที่มีร่างแต่ใจเป็นเดรัจฉาน เป็นเปรต เป็นสัตว์นรก คนที่มีใจเหล่านี้ สามารถทำชั่วได้ทุกเรื่อง ประโยชน์ที่ได้รับ เราควรจะคบคนที่มีศีล มีธรรม ไม่ควรคบคนชั่ว คนพาล เป็นมิตร ห่างไกลได้ควรห่างไกลคนเหล่านี้ |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | ช่วยกันหยุดสิ่งที่ไม่ดีด้วยการทำดีทำเดิ่มขึ้นเรื่อยๆจะส่งเสริมไปถึงอนาคตด้วยการทำดีในปัจับันและจะทำให้ชีวิตมีแต่ความเจริญในชาตินี้และชาติหน้าและชาติต่อๆไปสาธุค่ะ |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | ขยันและกินน้อยใช้น้อยจะมีแต่ความเจริญยิ่งๆขี้นไปศีลบาบูรณ์เเสมอกันอย่างน้อยมีศีล๕ศีลแต่ละชั้นมีเมตตาต่อกันผู้มีศีลวํงกว่ามีเมตตาต่อศีลที่น้อยกว่า |
นางสาว | วันเพ็ญ ตั้งสกุลวงศ์ | วิบากดีร้ายมีจริง อย่าไปเผลอคิดตามกิเลส แล้วจะไม่ทุกข์ ประโยชน์คือ ให้มีสติมากขึ้นเมื่อมีกิเลส |
นางสาว | อุษา บุตรพรม | คิดอย่างไรก็ได้ที่ไม่ทำให้ตัวเองทุกข์ใจ ความสุขที่แท้จริงคือไม่ทุกข์ใจ |
นาย | สุนทร คำเหลือง | สถาธรรมเกิดขึ้นนิดๆหลังจากเสพกิเลสสุขยิดเดียวชั่วคราวและทุกข์มากคิดไปเราไม่น่าเสพในครั้งต่อไปจะต้องไม่เสพอีกหรือลดเสพให้น้องที้สุด |
นางสาว | ประภาพรรณ โอษฐ์ยิ้มพราย | ปฏิบัติธรรมต้องอ่านเวทนาให้ได้ ผัสสะที่มากระทบทั้งกายและใจ ทั้งตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ มากระทบ เราดับได้รึไม่ได้ ปัจจัยเวทนา คือผัสสะ |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | การหมั่นเข้าหาสัตบุรุษหมู่มิตรดี เป็นหนทางแห่งการพ้นทุกข์ เป็นธรรมที่ดีและเห็นด้วยอย่างยิ่ง แต่ในความเป็นจริงด้วยภาระทางโลก ทำให้ยังต้องใช้วิบากและยังไม่สามารถพาตัวเข้าไปได้เต็มที่ ดีไหนเกิดไม่ได้ ถ้ายึดก็ทุกข์ จึงค่อยเป็นค่อยไป พิสูจน์พุทธในสิ่งที่ทำได้ไปก่อน |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นาย | นายคมภัทร เจียรัมพร | ใช่มาปฎิบัติเพื่อให้รอดชีวิตจากภัยพาลศึกษาเองทำเเองไ |
นาง | รมิตา ซีบังเกิด | สิ่งที่เราได้รับคือสิ่งที่เราทำมาทั้งในอดีตและปัจจุบัน การกระทำปัจจุบันจะทำให่เปลี่ยนแปลงอดีตให้ได้รับกรรมดีสิ่งใดที่ดีพยายามทำหยุดสิ่งที้ไม่ดีให้ได้จะทำให้จิตใจผ่องใสช่วยลดปัญหามีพลังวิเศษที่จะทำให้รู้เหตุร้ายได้เร็วและแก้ได้เร็วด้วยการเรียนรู้ในเรื่องของกรรมตามลำดับๆสิ่งที่เลวร้ายจะลดลงเรื่อยๆถ้าเราทำสิ่งที่ดีไปเรื่อยๆสิ่งใดที่ทำไม่ได้ก็วางใจโดยทำเต็มที่ๆเราทำได้ เพราะเป็นวิบากของเราและคนที่เกี่ยวข้องตามกรรมของแต่ละคน |
นางสาว | ปาวิดา ทองธวัฒน์ | เราสามารถประเมินระดับศีลและปัญญาโดยดูที่ความโศก หากมีความโศกน้อยหมายถึงศีลและปัญญามีมาก |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นาย | คมภัทร เจียรัมพร | |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | ได้ฟังแล้วเห็นผู้มีศีลต้องมีปัญญา คือผู้มีศีลจะมีปัญญาจะรู้ว่าคบคนดีมีศีลจะมีแต่ความเจริญยิางขึ้นไปไม่มีเสื่อมด้วยการประกอบอริยมรรคเป็นหนึ่งเดียวที่พาพ้นทุกข์ |
นางสาว | วาทยานนท์ | มีกำลังใจเข้มแข็งขึ้นแต่ยังไม่สามารถกระทำเป็นรูปธรรมได้คือทำกสิกรรมไร้สารพิษ |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | พลังวิบากดีสร้างผลดี พลังวิบากร้ายสร้างผลร้ายผู้นำผู้ตามถ้าไม่สร้างวิบากดีก็จะพบวิบากร้ายเสมอไปเป็นประโยชน์มากจากการฟังทำให้รู้ดีรู้ชั่วและเป็นข้อควรระวังจากการปฏิบัติได่อย่างดีจากก่รฟังธรรมะของท่านอาจารย์ สาธุคะ |
นาง | รมิตา ซีบังเกิด | สัทธรรม7คิอศีลของคนดีที่มีสะมมาทิฎฐิ 1ศรัทธา 2หิริ3โอตตัปปะ4พหูสูตร5วิริยารัมภะ6,สติ7ปัญญา ธรรมะที่ท่องขึ้นใจและใช้มานานคือหิริโอตัปปะซึ่งทำให้ชีวิตพ้นจากทุกข์เป็นลำดับๆ |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | เห็นด้วย และควรยึดดีที่ยึดได้ก่อน ยึดแทนชั่ว จากนั่น ดีที่เกิดไม่ได้ก็ไม่ยึด ไม่ทำทุกข์ทับถมตน |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นาย | สุนทร คำเหลือง | |
นางสาว | รสริน สังข์เกื้อ | ได้นำมาดูแลสุขภาพตัวเอง และพ่อแม่ที่ป่วย |
นางสาว | ปาวิดา ทองธวัฒน์ | เราต้องอ่านเวทนาหรือความรู้สึกเพื่อจับให้ได้ว่ามีกิเลสตัวไหนกำลังออกฤทธิ์ จากนั้นจึงค่อยล้างกิเลสเป็นลำดับต่อไป |
นางสาว | วันเพ็ญ ตั้งสกุลวงศ์ | จำไม่ได้ค่ะ |
นางสาว | อุษา บุตรพรม | ปัญหาทุกปัญหาเกิดจากกิเลสที่เราอยากได้สิ่งต่างๆ หลังจากฟังธรรมแล้วเมื่ออยากได้อะไรก็จะพิจารณาก่อนว่าจำเป็นมัยมีประโยช์แค่ไหน ถ้าเราได้มาแล้วคุ้มไม่คุ้มแค่ไหนพิจารณาตามแล้วลดความอยากได้ลงทันที ค่ะ |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นาง | ปราณีต ดอกไม้ | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นาง | รมิตา ซีบังเกิด | การทำงานแต่ละอย่างต้องพบผัสสะอยู่เสมอๆ ได้นำคำสอนมาใช้ด้วยการหันมามองที่ตนเอง แก้ที่ตนไม่แก้ที่คนอื่น เป็นบุญที่ได้ฟังธรรมทุกวันเพราะได้ชำระกิเลสตัวเองทุกวันๆ |
นางสาว | ประภาพรรณ โอษฐ์ยิ้มพราย | ผลวิบากกรรมดี วิบากกรรมร้าย ที่ได้เกิดกับ1ชีวิต1 แต่ละคนทำมาแล้วได้รับ ในวันที่10 ได้สาระธรรมคือ ดีที่เกิดได้ และดีที่เกิดไม่ได้ จะเห็นเหลี่ยมมุมในดีนั้นทั้งสุขและทุกข์ และวิธีกำจัด สุข ทุกข์ ในดีนั้น เข้าใจชีวิต ในการเรียนรู้ ปัญญาก็เพิ่มขึ้น |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | ทำให้ได้แนวทางในการตั้งศีลที่ถูกต้อง |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | ถ้าผู้นำ ผู้ตาม ไม่มีศีลไม่มีธรรม ก็จะพบวิบากร้าย แต่ถ้าผู้มีศีลมีธรรมก็จะมีศีลมีธรรมคุ้มครองจะพบแต่วิบากที่ดี |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | พหูสูต ผู้ฟังมาก อ่านมาก ฟังได้ดีแล้วเข้าใจดีเป็นความก้าวหน้าของการลดละกิเลสคนจะก้าวหน้าไปตามลำดับกราบขอบพระคุณท่านอาจารย์หมอที่ให้ปัญญาพาพ้นทุกข์ได้ตลอดกาลค่ะ |
นางสาว | ้้เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | อุษา บุตรพรม | ทันความรู้สึกตัวเองเร็วขึ้น จิตใจสงบเย็น |
นางสาว | วันเพ็ญ ตั้งสกุลวงศ์ | สุที่ไม่ได้ดั่งใจ ยินดีให้ได้ทุกสถานการณ์ |
นาย | สุนทร คำเหลือง | จิตเกิดขึ้นดีมากตอนได้ฟังอาจารย์แต่อยุ่ได้ไม่นานต้องพิจารณาให้ทันเมื่อเจอผัสสะทางหูตาจมูกลิ้นกายยังไม่ทันกิเลส |
นางสาว | ประภาพรรณ โอษฐ์ยิ้มพราย | การไม่กินเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ ทำให้จิตใจเรามีเมตตา ไม่โกรธ มีความละอายเกรงกลัวต่อบาป สุขภาพแข็งแรง โรคและวิบากน้อยลง ยิ่งมั่นในศีลที่มั่นคง ทุกข์จะลดลง เราจะลดละกิเลสที่เกิดขึ้นลงไปตามลำดับๆจิตใจเราดี เราจะไม่เบียดเบียนชีวิตคนอื่นสัตว์อื่น ศีลจะรักษาเราๆจะพ้นจากอันตรายทั้งปวง |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | เห็นด้วยกับท่านอาจารย์ แต่ไม่สามารถทำได้ในหนเดียว ต้องพากเพียรอย่างมาก เพราะเป็นการสวนกระแสกิเลส |
นางสาว | สมทรง นาคแางทอง | สุขสมใจนั้นไม่มีจริง ไปเอาสุขที่ไม่ได้ดั่งใจดีกว่า |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | วิธีทำใจให้หายโรคเร็วด้วการไม่โกรธไม่กลัวเป็น ไม่กลัวตาย ไม่กลัวโรค ไม่เร่งผล ไม่กังวล ด้วยใจที่ผาสุกค่ะ |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นาง | รมิตา ซีบังเกิด | ในการทำสวนยางไร้สารพิษซึ่งมีเนื้อที่หลายไร่โดยไม่ใช่ปุ๋ยเคมีไม่ใช้ยาฆ่าหญ้า. ต้องใช้ความพยายามค่อนข้างสูงในการตัดหญ้า 2คนกับพ่อบ้านช่วยกันตัดหญ้า ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ อายุ 66 ปี กับ69ปี ตัดหญ้า15ไร่ใช้เวลาเป็นสัปดาห์. เหนื่อยเอาการแต่พอนั่งพักแล้วคุยกันว่าการตัดหญ้าก็ได้ปุ๋ยมาฟรีๆเป็นการลดค่าใช้จ่ายด้วย ทำให้พ่อบ้านมีกำลังใจช่วยกันจนสำเร็จ โดยนำคำสอนของอาจารย์ใาใช้อย่างมั่นคง ทำให้งานสำเร็จใจก็มีความสุขมากๆ |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | นิธิดา วิวัฒน์พาณิชย์ | เรียนรู้อุปกิตเลส 16 เห็นกิเลสที่สะสมมามากมาย กิเลสที่ละเอียดซับซ้อนมาก |
นาง | จิตรา พรหมโคตร | เรื่องการปฏิบัติศีลข้อที่ ๑ คือ ไม่เบียดเบียนสัตว์จะนำสุขมาให้ โดยใช้เวทนา๑๐๘ คือ การรู้สภาวะอารมณ์ ๓ อย่าง คือ ๑.รู้สึกทางกาย ๒.ทางจิตใจมี๒อย่างคือ ๑กำลังใจ ๒กำลังปัญญา เวลาจะทำอะไรให้ตรวจกำลัง๓ ประโยชน์ที่ได้รับ ได้ปัญญาที่จะนำไปปฏิบัติฝึกฝนเรียนรู้ |
นาง | ลัดดา สุวรรณไตรย์ | รู้สึกมีความสุขขึ้น ปล่อยวางเรื่องที่ทำให้ทุกข์ใจ จะไม่ยึดติดกับความสุขที่อยากได้ |
นางสาว | อุษา บุตรพรม | คิดยังไงก็ได้ที่ไม่ทำให้ทุกข์ สบายใจ |
นาย | สุนทร คำเหลือง | การที่ได้ฟังท่านอาจารย์หมอบางยายธรรมเรื่องไม่ได้ดังใจจะเป็นสุขเกิดความติดว่าทำเท่าที้ได้ได้เท่าที่ทำและต้องทำในสิ่งนั้นๆที่ไม่ผิดศีลธรรมกฎหมายทางโลกด้วยพร้อมกันได้ลดกิเลสที้ยากได้สิ่งนั้นสิ่งนี้ลดลงบ้าง |
นางสาว | ปาวิดา ทองธวัฒน์ | งานหลักของเราคือการชำระกิเลส เพื่อให้ได้สุขที่เลิศยอดที่สุด |
นาง | จำปา ลัคณาสถิตย์ | ฟังอาจารย์สอนธรรมะทุกวัน เมื่อก่อนนี้เป็นคนมีความทุกข์มากก็คืออยากได้ให้สมใจตัวเราเองเรามัวแต่ไปลงสุขลวง ตอนนี้ฟังอาจารย์บอกว่าให้ละสุขที่ไม่ได้สมใจเราก็จะเป็นคนที่มีความสุขที่สุดในโลก |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | สุขสมใจเป็นทุกข์ทั้งหมดทั้งปวงเป็นสัจธรรมอย่างชัดเจนเป็นกุศลอย่างยิ่งที่มีโอกาสได้ฟังธรรมะที่มีส่าระธรรมอย่างหาที่ไหนฟังยาก |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | การยึดแบบอุปาทานได้ก็เป็นทุกข์ไม่ได้ก็เป็นทุกข์ เมื่อได้ฟังธรรมะนี้แล้วทำให้มีความสำรวมกายใจมากขึ้นมีสติมากขึ้น |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | ชีวิตคือตวามรู้สึก ความรู้สึกคือชีวิต ทำให้มีความสำรวมระว้งทำให้ได้รับประโยชนสูงสุด |
นางสาว | สัสยา วาทยานนท์ | ทำให้มีแรงจูงใจให้ตั้งใจปฏิบัติอย่างแน่วแน่หากไม่ฟังจะเคลื่อนคล้อยไปตามนิสัยเดิมซึ่งไม่ถูกค่ะ |
นาง | รมิตา ซีบังเกิด | มองเห็นปัญหาครอบครัวที่เกิดการแตกแยก. พูดคุยกันไม่ได้บาง |
นางสาว | ปาวิดา ทองธวัฒน์ | เราไม่สามารถลัดขั้นตอนหรือใจร้อนได้ในการปฏิบัติธรรม |
นางสาว | อุษา บุตรพรม | ละเหตุทุกข์ได้เป็นสุข เบากายสบายใจ |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | เห็นด้วยกัยการได้ดั่งใจคือการสะสมทุกข์แรงเมื่อไม่ได้ดั่งใจ |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | ได้ฟังสิ่งมหัศจรรย์สุดยอด คำอวยพรที่ใคร ๆ มอบให้กัน ด้วยคิดว่าหวังดี ปรารถนาดีต่อกัน แท้จริงคือคำสาบแช่งที่โหดร้ายที่สุด |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | แค่หายทุกข์ก็สุขมากแล้ว ใจเป็นสุขกายก็สุขไปด้วยสุขใจที่ได้ดั่งใจเปฌนาขที่ไม่มีจริงสุขที่ไม่ทุกข์นี้แหละมีค่าที่สุดเลย |
นาง | อรทัย.สุทธิเสน | ได้ร้กิเลส |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | ความไม่ทุกข์ เป็นสุขที่สุดในโลก |
นาง | สมฤดี กิจสิริสกุลวงศ์ | ฝึกลดกิเลส แม้จะได้ดั่งใจหรือไม่ได้ก็ตาม สามารถมีความสุขในชีวิตได้ในทุกๆ วัน |
นางสาว | อุษา บุตรพรม | เบากาย สบายใจ ดี ค่ะ |
นาง | รมิตา ซีบังเกิด | ผู้มีปัญญาสามารถชำระกิเลสได้ เป็นความสุขที่ไม่มีทุกข์ซึ่งจะมีอยู่ในบัณทิต ถ้ามีกิเลแม้แต่เรื่องเดียวก็สามารถทำให้ทุกข์ทั้งกายและใจเป็นอย่างมาก เมื่อลดกิเลสได้ก็จะพบความสุขที่ยั่งยืน คนฉลลาดจะไม่รักหรือหลงอะไรจนทำให้ตัวเองทุกข์ |
นางสาว | ภนิดา ปิ่นมณี | ลดกิเลสได้มากเป็นลำดับๆมีความคิดทางพุทธะมากขึ้น |
นางสาว | ประภาพรรณ โอษฐ์ยิ้มพราย | ตั้งศีลในการปฏิบัติด้วยความยินดี สุขใจที่จะลดกิเลสสิ่งที่เป็นโทษและทำในสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น ซึ่งตนเองได้ปฏิบัติตามอาจารย์บอกตลอดมา สภาวะจิตใจก็เบิกบาน ยินดี ด้วยใจที่เป็นสุขเสมอมาตลอด |
นาย | สุนทร คำเหลือง | จะต้องฝึกลดฐิถิให้มากๆจะได้เป็นคนสันโดษ จึงได้คิดกับตัวเองว่าต้องเป็นคนสันตุถิให้ได้ และได้ฝึกกินอาหารแบบไม่ปรุงแค่มื้อเดียวรุ้สึกมีกำลังเบาสายแรงมีแรงไม่ตกเร็วอิ่มนาน |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | อบาลกได้สุขต้องทำทุกข์ให้ได้ก่อน(แบบมีกิลส)พอไม่ได้ดั่งใจก็สุขเลยืทำเพราะไม่รู้ถ้ารู้แล้วไม่ทำเลส) |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | คนเรามีกิเลสก็ชังเขาเป็นนิสัย คุณชังใครมากก็ต้องเอาจากเขามามากรๆมาแปลว่าคนนั้นเขาเคยให้ไว้มากกิเลสมันได้ไปเรื่อยๆชังใครมากคือเอาจากเขามาก |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | - |
นาง | รมิตา ซีบังเกิด | ในการทำงานแต่ละอย่าง แต่ละสถานที่ ทำไปเพราะเราสามารถทำได้ บ้างครั้งอาจจะมีคนตำหนิในการทำงานของเราก็ไม่เป็นไร เพราะเราทำความดีโดยไม่ได้ยึดว่าตะต้องได้รับคำชมหรือยอมรับ เมื่อถูกคำหนิก็สามารถวางใจได้ ไม่ทุกข์เพราะเรายึดว่าทำดีเต็มที่ก็สุขใจเต็มที่ |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | อุษา บุตรพรม | ไม่ทุกข์ ก็สุขแล้ว สบายใจเบิกบานแจ่มใส |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | ควรฝึกฝนจนไม่ติดทั้งชั่วและดี อุเบกขาให้ได้ หมั่นฝึกฝนๆ |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | การมีปัจจัยทีาจำเป็นต่อการยังชีพ ถือว่าโชคดีแล้ว ที่ไม่มีสิ่งเกินจำเป็นที่เสริมกิเลส |
นางสาว | ภนิดา ปิ่นมณี | ได้แความรู้และประโยชน์มากมายเกินกว่าที่คิด |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | อุษา บุตรพรม | ชีวิตคนต้องการความรู้สึกมี พลัง ยั่งยีน ฝึกดีดี ได้แน่แน่ ยินดี มีพลัง ยั่งยืน |
นาง | สุภัค กิมใช่ย้ง | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นาง | สมฤดี กิจสิริสกุลวงศ์ | ยินดีพอใจให้ได้กับทุกเหตุการณ์ทั้งดีและร้าย |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | ได้ประโยชน์จากการแบ่งปันด้วยใจที่บริสุทธิ์ของท่านอาจารย์เป็นอย่างสูงและกราบขอบพระคุณท่านอาจารย์ด้วยความเคารพยิ่งค่ะ สาธุค่ะ |
นาย | สุนทร คำเหลือง | เกิดความคิดขึ้นมาในใจยากจะปลูกพืชผักไม้ผลขุดสระ ทำตามศาสตร์พระราชา ร.๙ ร.๑๐ ที่ทำเกษต่รฤษดีใหม่หรือ โคก หนอง นาโมเดล ที่พึ่งพาตัวเองได้ ปลูกป่า๓อย่างประโยชน์๔อย่าง ทำปุ๋ยหมักน้ำหมักปรับสภาพดินให้ธรรมชาติพึ่งพิงธรรมชาติและมนุษย์ส่งเสริมอีกส่วนหนึ่ง |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | ทุกคำบรรยายสอคล้องกันได้หมดค่ะ นำคำสอนมาปฏิบัติได้จริงค่ะ |
นางสาว | อุษา บุตรพรม | คนที่ไม่มีธรรมะจะมีความทุกข์ไปเลื่อยๆ ค่ะ |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | ดลนิตา ปานสุวรรณ | ทุกข์ลดลง ไม่ติดไม่ยึด ฝึกคิดใหม่ ฝึกปฏิบัติใหม่ |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | พระพุทธเจ้าท่านทรงตรัสว่าขณะนี้ท่านทำอะไรกันอยู่อย่าปล่อยเวลาให้เนิ่นช้าข้าพเจ้าขอนำธรรมะทั้งหลายมาปฏิบัติเห็นว่าทำจริงได้จริงทำเล่นได้เล่นนี้คือสัจจะที่พาพ้นทุกข์ |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | คุณค่าขอวชีวิตคือการแบ่งปันด้วยกายและใจที่ผาสุกยั่งยืนด้วยการให้และไม่คิดจะเอาอะไรจากใครให้ได้ |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | 660115 นิยาม 5 เทวธาวิตักกสูตร นาที 1.20-1.30 แม้แต่เรื่องดีที่เป็นไปไม่ได้ก็ควรจะกำจัดออก แต่เรื่องดีที่เป็นไปได้ก็ควรจะพากเพียรทำ แต่เรื่องดีที่เป็นไปไม่ได้ก็จะต้องพากเพียรกำจัดสุขใจที่ได้ดั่งใจออกไป เรียกว่ากามวิตกเกิดขึ้นไม่ว่าด้านชั่วด้านดี เรานั้นย่อมทราบชัดอย่างนี้ว่า กามวิตกเกิดขึ้นแก่เราแล้วแล ก็แต่ว่ามันย่อมเป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนบ้าง เห็นไหม ก็เริ่มมีปัญญาพิจารณาโทษ ท่านจะเริ่มมีปัญญาพิจารณาโทษของมันทันทีเลย ทุกข์โทษภัยของกิเลสสุขใจที่ได้ดั่งใจ มันจะมีทุกข์โทษภัยอย่างไร นี่แหละทำให้กลัวจะไม่ได้มา ได้มากลัวจะหมดไป หมดไปก็จะทุกข์ใจทำให้เกิดทุกข์กาย ทำให้เกิดเรื่องร้ายสืบเนื่องไปต่อตนเองและผู้อื่นตลอดกาล ท่านก็เริ่มพิจารณาทันทีเลย ผู้ที่มีปัญญาอันยิ่งก็จะเริ่มพิจารณาโทษของมันก็แปลว่า มันย่อมเป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนบ้าง ย่อมเป็นไปเพื่อเบียดเบียนผู้อื่นบ้าง ย่อมเป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนเองและผู้อื่นทั้งสองบ้าง ทำให้ปัญญาดับ แล้วถ้าไปคิดตาม ปัญญาดับอย่างเดียวแหละ เพราะว่ามันมีแต่สร้างทุกข์โทษภัยให้กับตัวเองและผู้อื่น แล้วก็ไปหลงว่ามันเป็นสุข มันก็ดับเท่านั้นเอง มันก็หลอกว่าได้ดั่งใจหมายจะเป็นสุข ไม่ได้จะเป็นทุกข์ ปัญญาก็ดับอยู่อย่างนั้น มันก็ไปสร้างแต่ทุกข์โทษภัยให้กับตัวเองผู้อื่นสัตว์อื่นอยู่อย่างนั้น มันทำให้ปัญญาดับ มันตัวดับปัญญาแท้ ๆ เลย กิเลสมันทำให้ไม่รู้ความจริงตามความเป็นจริง แล้วมันก็ทำให้เกิดทุกข์ ไม่รู้ความจริงตามความเป็นจริง แล้วก็ทำให้เกิดทุกข์ต่อทุกชีวิต ทำให้ปัญญาดับ ก่อให้เกิดความคับแค้น ใจเมื่อไม่ได้ดั่งใจก็ทุกข์ กลัวจะไม่ได้ดั่งใจก็ทุกข์ ไม่ได้ดั่งใจก็ทุกข์ ไม่เป็นไปเพื่อพระนิพพาน ความสุขสงบเย็นที่เป็นอมตะนิรันดร์กาล ความสุขที่สุขที่สุด ดีเยี่ยมที่สุด เป็นอมตะนิรันดร์กาลไม่ได้ จะไม่ได้พระนิพพาน ไม่เป็นไปเพื่อจะได้พระนิพพาน ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อเราพิจารณาเห็นว่า มันเป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนบ้าง มันก็ถึงความดับสูญไปเมื่อเราพิจารณาเห็นว่ามันเป็นไปเพื่อเบียดเบียนผู้อื่นบ้างมันก็ถึงความดับสูญไปเมื่อเราพิจารณาเห็นว่ามันเป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนและผู้อื่นทั้งสองบ้างมันก็ถึงความดับสูญไป เมื่อเราพิจารณาเห็นว่ามันทำให้ปัญญาดับ ทำให้เกิดความคับแค้น ไม่เป็นไปเพื่อพระนิพพาน ดังนี้บ้าง มันก็ถึงความดับสูญไป เมื่อพิจารณาทุกข์โทษภัยผลเสียของมัน มันสร้างความเดือดร้อนแล้วก็ยังทำให้โง่ ปัญญาดับ แปลว่าโง่ มันจะไม่รู้ความจริงตามความเป็นจริงเลย ทำให้หลงทางไปเรื่อย นอกจากจะมีวิบากร้ายแล้ว ก็ยังทำให้ไม่รู้ความจริงตามความเป็นจริงด้วย ทำให้เราไม่ได้สุขที่ดีเยี่ยมที่สุดในโลก ชีวิตต้องมีความคับแค้นตลอดกาล ไม่ได้ความสุขที่ยอดเยี่ยมที่สุดในโลก ดังนี้บ้าง มันก็ถึงความดับสูญไป นี่ถ้าพิจารณาทุกข์โทษภัยของมันให้ชัด มันไม่เที่ยง มันไม่มีจริง มันเป็นทุกข์โทษภัยต่อตนเองคนอื่นสัตว์อื่นตลอดกาล มันทำให้ปัญญาดับ มันทำให้ไม่ได้สุขแท้ที่มั่นคงยั่งยืน ผู้ที่มีปัญญายิ่งแล้วก็จะพิจารณาเข้าไป มันก็ถึงความดับสูญไป กิเลสมันก็จะสูญไปจากความคิดที่มันเกิดผลเสีย ทั้งต่อตนเอง คนอื่น สัตว์อื่น มันก็ถึงความดับสูญไป นี่มันจะเป็นอย่างนี้ หลักการสำคัญก็พิจารณาไตรลักษณ์ของกิเลสนี่แหละ ความเป็นทุกข์ ความไม่เที่ยง ความไม่มีจริง อนิจจัง อนัตตา อนิจจัง ทุกข์ขัง อนัตตา มันไม่เที่ยงอย่างไร มันเป็นทุกข์อย่างไร เป็นทุกข์โทษภัยอย่างไร ไม่มีตัวตนแท้อย่างไร พิจารณา ซ้ำๆ ซ้ำๆ ๆ จนมันสลายไปหมด อันนี้มันก็ถึงความดับสูญไป เพราะว่ามันเถียงไม่ได้ สุดท้ายมันก็ต้องยอมสลายไปเมื่อมันเถียงไม่ได้ มันจะยอมสลายไป สลายไปก็เปลี่ยนไปเป็นพุทธะเปลี่ยนไปคิดแบบไม่ทุกข์ จากคิดแบบทุกข์ ก็เปลี่ยนไปคิดแบบไม่ทุกข์ เราก็ได้พลังไม่ทุกข์ เราก็ยินดีในพลังที่ไม่มีทุกข์โทษภัยต่อชีวิตใด ๆ เลย เป็นประโยชน์กับทุกข์ชีวิต เป็นความสุขที่สุดที่สุดในโลก ดูกรภิกษุทั้งหลายเรานั่นแล ละเสีย บรรเทาเสีย ซึ่งกามวิตก ที่เกิดขึ้นแล้ว ๆ ทำให้มันหมดสิ้นไป เห็นไหม พระพุทธเจ้าก็เป็นพระโพธิสัตว์ ก็ทำให้มันหมดไปเลย กามวิตก ความอยากได้สุขใจที่ได้ดั่งใจ เอาให้หมดเกลี้ยงไปเลย ไม่ให้เหลือเลย ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อเรานั้นไม่ประมาท มีความเพียร เครื่องเผากิเลส ส่งตนไปอยู่อย่างนี้ พยาบาทวิตกย่อมบังเกิดขึ้น ความทุกข์ใจ ไม่ชอบใจที่ไม่ได้ดั่งใจ มาเจอสภาพที่ไม่ได้ดั่งใจขึ้น เกิดความไม่ชอบใจ ไม่พอใจ ทุกข์ใจที่ไม่ได้ดั่งใจขึ้นมา ตั้งแล้วว่าจะทำความยินดีที่ไม่ได้ดั่งใจ แม้ไม่ได้ดั่งใจก็จะยินดีให้ได้ จะไม่มีความทุกข์ใจ ไม่มีความชอบ ไม่มีความชังในใจ ไม่มีความชัง ไม่มีความไม่ชอบใจไม่พอใจ กำจัดความไม่ชอบใจ ความไม่พอใจ ความทุกข์ใจออกไป แม้ชีวิตไม่ได้ดั่งใจ เกิดขึ้นมาปุ๊บ ก็พิจารณาเหมือนกันนะ มันเบียดเบียนตัวเอง คนอื่น สัตว์อื่น แล้วมันก็ทำให้ปัญญาดับ ทำให้ไม่ได้สุขแท้ที่ยั่งยืน พิจารณาไปด้วยปัญญาอันยิ่ง กิเลสมันก็เถียงไม่ได้ เถียงไม่ได้มันก็ยอมตายไป ยอมตายไป แล้วก็สามารถที่จะยินดีที่ไม่ได้ดั่งใจก็ได้ อยากได้ดั่งใจก็ไม่เที่ยง ไม่มีจริง เป็นทุกข์ เราไม่ต้องไปอยากได้ ถึงอยากได้เราก็ต้องไม่มีทุกข์ ไม่มีความทุกข์ใจ ไม่ชอบใจ ไม่พอใจที่ไม่ได้มา แล้วเราก็สามารถที่จะยินดีได้ ยินดีที่เราไม่มีทุกข์ เราก็ยินดีที่เราไม่มีทุกข์ ยินดีใช้วิบาก อย่างนี้เป็นต้นยินดีไม่มีทุกข์ ยินดีใช้วิบาก ชีวิตก็มีความสุข เพราะฉะนั้นพยาบาทวิตกก็สูญไป เราก็สามารถสุขใจแม้ไม่ได้ดั่งใจได้ สุขใจที่ไม่ได้ดั่งใจ ก้าวไปสู่สภาพได้หรือไม่ได้ดั่งใจก็สุขใจได้ |
นาง | รมิตา ซีบังเกิด | การทำเกษตรด้วยการใช้หญ้าและเศษพืชที่อยู่ใกล้ตัวหาง่ายมาทำเป็นปุ๋ย เป็นทางรอดของเราที่จะดำเนินชีวิตอยู่ได้ |
นางสาว | อุษา บุตรพรม | เปลี่ยนวิถืชืวิต แล้ว ชืวิตง่ายเบา สบาย ขึ้นมากและ |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | การรับประทานอาหารวันละมื้อ อย่างมีปัญญารู้จักปรับสมดุลร้อนเย็นตัดตัวที่เป็นโทษออก รับแต่สิ่งดีมีประโยชน์จากการได้ฟังธรรมะพาพ้นทุกข์ทำให้ทุกข์หายฉับพลันและตลอดกาล |
นางสาว | สมทรง นาคแสงทอง | พลังความดีเหมือนแม่เหล็กไฟฟ้า เมื่อกุศลลงตัวพลังความดีจะเข้ามาพลังความดีจะดันสิ่งร้ายออกไป จะดูดสิ่งดีๆเข้ามานี้คือสัจจะแห่งธรรมของคุณงามความดี |
นางสาว | อุษา บุตรพรม | เรียนรู้แล้วนำมาปผฎิบัติ กิเลสลด ใจสงบลง |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | ชฎีมาศ ชัยวิริยะวงศ์ | การรวมแรงร่วมใจกันตั้งพรรคการเมือง จะมีพลังในการช่วยเหลือประชาชนมากขึ้น |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | อุษา บุตรพรม | ใจเย็นสงบเร็ว ขึ้นเมื่อเจอผัสสะ มากระทบ |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ | |
นางสาว | เมตตา โพธิสุทธิ์ |